วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สอบครั้งที่2

1.Classroom Management
การบริหารจัดการในชั้นเรียน(Classroom management)การที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น การบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นเรื่องที่ครูผู้สอนต้องตระหนักถึงเริ่มตั้งแต่ตัวครูต้องมีการบริหารจัดการในชั้นเรียน(Classroom management)การที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น การบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นเรื่องที่ครูผู้สอนต้องตระหนักถึงเริ่มตั้งแต่ตัวครูต้องมีการบริหารจัดการในชั้นเรียน การบริหารจัดการในชั้นเรียน(Classroom management)การที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น การบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นเรื่องที่ครูผู้สอนต้องตระหนักถึงเริ่มตั้งแต่ตัวครูต้องมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีบุคลิกภาพที่แสดงถึงความเมตตาและเป็นมิตรกับผู้เรียน รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล รู้ภูมิหลัง ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ซึ่งครูผู้สอนควรมีเครื่องมือ และทักษะในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งอาจเป็นแบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ การทำสังคมมิติ และการศึกษารายกรณี เป็นต้น นอกจากนั้นการควบคุมชั้นเรียนเป็นเรื่องที่ครูควรให้ความสนใจ หากพบนักเรียนที่ปัญหาครูจะดำเนินการอย่างไร ครูต้องรู้ว่านักเรียนที่สอนอยู่ในวัยใด วัยของเขาสนใจใฝ่รู้อะไร หากครูออกแบบการจัดการเรียนได้สอดคล้องกับแต่ละเรียน เหมือนที่เราชอบเรียนวิชาอะไรในช่วงเด็กเพราะเราชอบครูใช่หรือไม่ช่วงวัยของผู้เรียน และสอดคล้องกับความถนัดของผู้เรียน จะส่งผลให้ผู้เรียนมีความสนใจและตั้งใจในการ
2. Happiness Classroom
Happiness เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้เรียนอย่างมีความสุข เป็นความสุขที่เกิดจาก ประการที่หนึ่ง ผู้เรียนได้เรียนในสิ่งที่ตนสนใจ สาระการเรียนรู้ชวนให้สนใจใฝ่ค้นคว้าศึกษา ท้าทายให้แสดงความสามารถและให้ใช้ศักยภาพของตนอย่างเต็มที่ ประการที่สองปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน มีลักษณะเป็นกัลยาณมิตร มีการช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีกิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน ทำให้ผู้เรียนรู้สึกมีความสุขและสนุกกับการเรียน
3. Life-long Education
การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) หมายถึง การรับรู้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ตั้งแต่เกิดจนตายจากบุคคลหรือสถาบันใดๆ โดยสามารถ จะเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนต่างๆ อย่างมีระบบหรือไม่มีระบบ โดยตั้งใจหรือโดยบังเอิญก็ได้ ทั้งนี้สามารถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนา ตนเอง
การศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education) หมายถึง การจัดกระบวนการทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นการจัด การศึกษาในรูปแบบของการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non - Formal Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) โดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self - directed Learning) มุ่งพัฒนาบุคคลให้สามารถพัฒนาตนเอง และปรับตนเองให้ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของสังคมการเมืองและเศรษฐกิจของโลก
4. formal Education
การศึกษาในระบบ (Formal Education) คือการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
5. non-formal education
การศึกษานอกระบบหรือ Non-formal Education (NFE)ได้เกิดขึ้นครั้งแรกใน ปี ค.ศ. 1967 ในการประชุมของ UNESCO เรื่องThe World Educational Crisis ซึ่งได้นิยามการศึกษานอกระบบ หมายถึง การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ แต่นอกกรอบของการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนปกติ โดยมุ่งบริการให้คนกลุ่มต่างๆ ของประชากร ทั้งที่เป็นผู้ใหญ่และเด็กโดยเน้นการเรียนรู้ (Learning) แต่ในปัจจุบันการศึกษานอกระบบคือ กระบวนการจัดการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ทั้งที่เป็นทัศนคติ ทักษะ และความรู้ซึ่งทำได้ยืดหยุ่นกว่าการเรียนในระบบโรงเรียนทั่วไป สมรรถนะที่เกิดจากการศึกษานอกระบบมีตั้งแต่ทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง การทำงานเป็นกลุ่ม การแก้ไข ความขัดแย้งการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การเป็นผู้นำ การแก้ปัญหาร่วมกัน การสร้างความเชื่อมั่น ความรับผิดชอบและความมีวินัย การศึกษานอกระบบยุคใหม่จึงเน้นการเรียนรู้และสมรรถนะ
6. E-learning
คำว่า e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์
7. graded = ผู้สำเร็จการศึกษา
8. Policy education
เรื่องการเมือง (Politics) และเรื่องการศึกษา (Education) ความเข้าใจทั้ง 2 เรื่อง ต้องไปพร้อมกันในการสร้างสังคมประชาธิปไตย เรื่อง ประชาธิปไตย จะได้เข้าใจตั้งแต่เด็ก เป็นการสร้างความเข้าใจร่วมกัน (mutual understanding) ทั้งเรื่องการเมืองและการศึกษาทั่วไป เป็นสองคำที่โดยปกติจะเน้นทางการเมือง แต่ต้องไม่ลืมว่าการศึกษา (Education) มีบทบาทเป็นกลางที่สำคัญในการทำหน้าที่ให้เกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน สิ่งที่เราพบเห็นข่าวทางโทรทัศน์ ได้ยินทางวิทยุ ล้วนไม่ใช่การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง หรือพัฒนาพลเมือง หากแต่เป็นเพียงการรับข้อมูลข่าวสารทางการเมืองเท่านั้น (Political Information)
9. Vision
( Vision ) หมายถึง ศักยภาพของบุคคลในการหยั่งรู้สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นการสร้างภาพอนาคตเพื่อกำหนดเป้าหมายการทำงาน โดยอาศัยข้อมูลข้อเท็จจริงหรือความรู้และพลังแห่งการจินตนาการ
10. Mission
พันธกิจ (Mission) คือ ความประสงค์ หรือความมุ่งหมายพื้นฐานขององค์กร ที่จะดำเนินการในระยะยาว อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กรหรือบริษัทก็ได้ พันธกิจที่ดีจะสามารถแยกความแตกต่างและคุณค่าขององค์กรแต่ละแห่งได้อย่างชัดเจน ดังนั้นพันธกิจจะบ่งบอกว่าธุรกิจขององค์กรคืออะไร อะไรคือสิ่งที่องค์กรต้องการจะเป็น และบางครั้งอาจจะแสดงสิ่งที่องค์กรกำลังให้บริการแก่ลูกค้าอยู่ทั้งผลิตภัณฑ์และบริการ
11. Goals = จุดมุ่งหมาย
12. Objective หมายถึง เป้าหมายซึ่งต้องการให้กิจกรรมบรรลุผลหรือหมายถึงเป้าหมายระยะสั้นที่มีลักษณะเจาะจง ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่สามารถวัดได้
13. backward design ก็คือ เป็นกระบวนการของการทบทวนและขัดเกลา (Review and Refine) ในเรื่องของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ดูเหมือน ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่ในความไม่ยุ่งยากซับซ้อนนั้น คือการยุทธศาสตร์ของการปรับเปลี่ยน กระบวนการออกแบบการจัดเรียนรู้ยุคใหม่ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างเข้มข้นจริงจัง
14. Effectiveness หมายถึง ความสามารถในการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จุดสำคัญของประสิทธิผลอยู่ที่ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตที่ถูกคาดหวังตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้และผลผลิตจริงที่มีขึ้นในการนี้ขอยกตัวอย่างกรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์ ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพและประสิทธิผล
15. Efficiency หมายถึง การปฏิบัติงานหรือบริการที่ถูกต้อง รวดเร็ว ใช้เทคนิคที่สะดวกสบายกว่าเดิม คุ้มค่า และใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดในขณะที่ต้องการผลงานมากที่สุด
16. Economy ความมัธยัสถ์
17. Equity คือผลรวมของคุณสมบัติที่โดดเด่นของแบรนด์ที่ผสานรวมกันจนเกิดเป็นความเชื่อมั่น และความคาดหวังที่กลุ่มเป้าหมายจะมีให้ต่อแบรนด์นั้นๆ ความเชื่อมั่น คือ Trust ที่สามารถนำไปแปรเปลี่ยนเป็นมูลค่า ในขณะที่ความคาดหวัง คือ Expectation หรือ โอกาสในการขยายเครือข่ายการเติบโตแตกไลน์ของแบรนด์ ความคาดหวังเป็นปัจจัยที่จะบอกให้เรารู้ว่า แบรนด์ของเรามี “Permission” ให้ขยายตัวไปทางไหน ทั้งความเชื่อมั่น และความคาดหวัง (ซึ่งเป็นคำง่ายๆ แต่กว่าจะได้มา ยากแสนยาก) เป็นเป้าหมายสูงสุดของการสร้างแบรนด์ แบรนด์ไหนก็ตามที่อยากจะรู้ว่าตัวเองมีแบรนด์จริงๆแล้วหรือไม่ ก็ลองถามตัวเองดูว่า แบรนด์เรามีสิ่งที่เรียกว่า Equity แล้วหรือยัง หรือมีแค่ Awareness เท่านั้น ถ้ามีแค่ Awareness คือ มีคนรู้จัก แต่ยังไม่ได้มาซึ่งความเชื่อถือไว้วางใจ ยังไม่ก่อให้เกิดความคาดหวัง (เพราะคนที่รู้จักยังไม่เคยใช้เลย) ก็แปลว่าคุณยังสร้างแบรนด์ได้ไม่ถึงเป้าหมายสุดท้าย การสร้างแบรนด์วันนี้จะต้องสร้างให้ได้ถึงคำว่า “Equity” หรือพูดง่ายๆว่าต้องมีปัจจัยที่ทำให้แบรนด์เรามีทั้งคุณค่าและมูลค่า18หรือ Empowerment” หมายถึง การทำให้บุคคลที่ปฏิบัติงานเกิดแรงจูงใจภายใน (Intrinsic motivation) รวมทั้ง ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเองว่ามีความสามารถเพียงพอ (Self-efficacy) ที่จะทำงานนั้นสำเร็จ ให้เกิดขึ้นในตัวของผู้ปฏิบัติงาน19 Engagement นั้น ถ้าจะแปลความแบบง่ายๆ ก็คือ การทำให้พนักงานในองค์กรรู้สึกผูกพันกับองค์กร คำว่าผูกพัน (Engage) นั้น กินความหมายลึกซึ้งมากนะครับ มันไม่ใช่แค่เพียงอยากอยู่กับองค์กรเท่านั้น มันยังหมายความรวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านผลงานให้เกิดขึ้นกับองค์กรด้วย20โครงการ (อังกฤษ: project) หมายถึง กระบวนการทำงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลายๆกิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เช่นการผลิตสินค้า หรือ ทำงานบริการ โดยจะมีการกำหนดระยะเวลาและงบประมาณที่จำกัด ในการดำเนินงานโครงการจะต้องมีผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อโครงการ มีหน้าที่ทำการบริหารงาน กิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนงานเหมาะสมกับเวลา และงบประมาณที่ตั้งไว้
17. Equity ความถูกต้อง
18. Empowerment การ ,ความให้อำนาจ
19. Engagement การสู้รบ
20. project แผนงาน
21. activies
22. Leadership A simple definition of leadership is that leadership is the art of motivating a group of people to act towards achieving a common goal. คำนิยามอย่างง่ายของการเป็นผู้นำเป็นผู้นำที่เป็นคนศิลปะของการสร้างแรงจูงใจกลุ่มเพื่อดำเนินการที่จะให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน Put even more simply, the leader is the inspiration and director of the action. ใส่มากยิ่งขึ้นเพียงผู้นำเป็นแรงบันดาลใจและผู้อำนวยการการกระทำ He or she is the person in the group that possesses the combination of personality and skills that makes others want to follow his or her direction. เขาหรือเธอเป็นบุคคลในกลุ่มที่มีคุณสมบัติการรวมกันของบุคลิกภาพและทักษะที่ทำให้คนอื่นต้องการที่จะปฏิบัติตามทิศทางของเขาหรือเธอ In business, leadership is welded to performance. ในธุรกิจการเป็นผู้นำเป็นรอยกับการปฏิบัติ Effective leaders are those who increase their companys' bottom lines. ผู้นำที่มีประสิทธิภาพคือผู้ที่เพิ่มบรรทัดด้านล่างของ บริษัท ของพวกเขา To further confuse the issue, we tend to use the terms "leadership" and "management" interchangeably, referring to a company's management structure as its leadership, or to individuals who are actually managers as the "leaders" of various management teams. เพื่อเป็นการสร้างความสับสนปัญหาเรามักจะใช้คำว่า"ผู้นำ"และ"จัดการ"แทนกัน ได้ในการอ้างอิงถึงโครงสร้างการจัดการของ บริษัท ฯ เป็นผู้นำหรือให้บุคคลที่เป็นจริงผู้จัดการเป็น"ผู้นำ"ของทีมงานการจัดการ ต่างๆ I am not saying that this is a bad thing, just pointing out that leadership involves more. ฉันไม่ได้บอกว่านี่เป็นสิ่งที่ไม่ดีเพียงชี้ให้เห็นถึงความเป็นผู้นำที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มเติม To be effective, a leader certainly has to manage the resources at her disposal. ให้มีประสิทธิภาพซึ่งเป็นผู้นำแน่นอนมีการบริหารจัดการทรัพยากรในการกำจัดของเธอ But leadership also involves communicating, inspiring and supervising - just to name three more of the main skills a leader has to have to be successful. แต่ความเป็นผู้นำยังเกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสาร, สร้างแรงบันดาลใจและดูแล -- เพียงชื่ออีกสามทักษะหลักผู้นำต้องมีเพื่อจะประสบความสำเร็จ Is a leader born or made? ผู้นำหรือทำให้เกิดหรือไม่ While there are people who seem to be naturally endowed with more leadership abilities than others, I believe that people can learn to become leaders by concentrating on improving particular leadership skills. ขณะที่มีผู้คนที่ดูเหมือนจะเป็น endowed ธรรมชาติกับความสามารถในการเป็นผู้นำมากขึ้นกว่าคนอื่น ๆ ผมเชื่อว่าคนสามารถเรียนรู้ที่จะเป็นผู้นำโดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการเป็น ผู้นำโดยเฉพาะ
23. leaders ผู้นำ
24. Follows การติดตาม
25. Situations สถานการณ์
26. Self awareness With our busy schedules it might be difficult to find time to think about who we are, our strengths and weaknesses, our drives and personalities, our habits and values. มีตารางเวลาไม่ว่างของเรามันอาจจะยากที่จะหาเวลาที่จะคิดเกี่ยวกับการที่เรา เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนของเราไดรฟ์และบุคลิกภาพของเรานิสัยและค่านิยมของเรา Besides, many of us just aren't inclined to spend much time on self-reflection. นอกจากนี้พวกเราหลายคนก็ยังไม่ได้กินใช้เวลามากในการสะท้อนตัวเอง Even when personal feedback is presented to us, we're not always open to it, because honest feedback isn't always flattering . แต่แม้จะเป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลนำเสนอให้กับเราเราไม่เคยเปิดให้มันเพราะความคิดเห็นอย่างจริงใจไม่ยกยอเสมอ Consequently, many of us have a pretty low level of self-awareness. ดังนั้นพวกเราหลายคนมีระดับต่ำงามของการทราบตนเอง That's unfortunate, because self-awareness is an essential first step toward maximizing management skills . นั่นคือโชคร้ายเพราะความตระหนักรู้ด้วยตนเองเป็นขั้นตอนแรกที่จำเป็นต่อการเพิ่มทักษะการจัดการ Self-awareness can improve our judgment and help us identify opportunities for professional development and personal growth. ตนเองความตระหนัก - สามารถปรับปรุงการตัดสินของเราและช่วยให้เราระบุโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพและการเจริญเติบโตส่วนบุคคล
27. Communication สื่อสาร (ดอทคอมย่อมัก) คือการทำงาน, การสื่อสารการกระทำของ, การสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นในการถ่ายทอดสำหรับคนบางคนหมายถึงการใช้และ เทคนิค สำหรับการเผยแพร่ข้อความไปยัง ผู้ชมมากหรือน้อยในวงกว้างและไม่เหมือนกันและการดำเนินการกับใครสักคนข้อมูล ทางธุรกิจและส่งเสริมกิจกรรมต่อสาธารณะ, รักษาภาพพจน์ของมันโดยกระบวนการทางสื่อ
28. Assertiveness พฤติกรรมการแสดงออกที่ เป็นคำคุณศัพท์ในภาษาอังกฤษ The word describes the state of a person who is inclined or tends to assert himself boldly or confidently. คำอธิบายเกี่ยวกับสถานะของบุคคลที่มีแนวโน้มหรือมีแนวโน้มที่จะกล่าวอ้างตัวเองอย่างกล้าหาญหรืออย่างมั่นใจ An assertive person is self-assured and confident. คนเสือกคือแน่นอนในตนเองและมีความมั่นใจ He may aggressively place his point of view before someone. เขาอย่างจริงจังอาจสถานที่ของเขา มุมมอง ก่อนที่ใครสักคน Other synonyms associated with the word 'Assertive' are: aggressive, emphatic, forceful, self-confident, self-assured, firm, forward, pushy, insistent, persistent, unrelenting, resolute and persevering. คำพ้องความหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคำว่า'กล้าแสดงออก'คือ : ก้าวร้าว, สำคัญ, มีพลัง, มั่นใจตัวเองด้วยตนเองมั่นใจ, บริษัท , ส่งต่อ, รุก, ยืนหยัด, ถาวร, ยึดมั่น, แน่วแน่และขยันหมั่นเพียร Assertively is the adverb form of the word assertive and assertiveness is its noun form. Assertively เป็น คำกริยาวิเศษณ์รูปแบบของการยืนกรานคำแสดงออกอย่างเหมาะสมและเป็นรูปแบบของคำนาม One example of the word Assertive is: Dan was assertive in his attempts to make the Board of Directors understand his advertising plan. ตัวอย่างหนึ่งของคำว่าเสือกคือ : ด่านคือการแสดงออกที่เหมาะสมในความพยายามของเขาเพื่อให้คณะกรรมการเข้าใจแผนโฆษณาของเขา The sentence gives us an idea that this person Dan was confident of his plan. ประโยคที่ทำให้เรามีความคิดที่ว่านี้คนด่านมั่นใจในแผนของเขา He was self-assured and made relentless efforts to make the Board of Directors understand his plan and its utility. เขาแน่นอนในตนเองและความพยายามทำไม่ยอมอ่อนข้อเพื่อให้คณะกรรมการเข้าใจวางแผนและยูทิลิตี้ของเขา
29. Time management การบริหารเวลาเป็นของตนเองมีระเบียบวินัยด้วยตัวเองค้นพบโดยเครื่องมือที่ เป็นมาตรฐานของการวัดที่เราจะมีปริมาณทั้งหมดเพื่อจัดลำดับความสำคัญของเรา ในวันหนึ่งวันใด It is simply how we manage our time, manage our disciplines and ultimately, manage our selves in our mindsets in a balanced mental, physical and Spiritual manner of delegation of that time. มันเป็นเพียงวิธีการที่เราจัดการกับเวลาของเราจัดการสาขาของเราและในที่สุด จัดการตัวของเราในความตั้งใจของเราในลักษณะจิตใจร่างกายและจิตวิญญาณที่ สมดุลของคณะผู้แทนของเวลาที่ How we utilize that time will determine our fate of happiness, success and personal growth. วิธีที่เราใช้ว่าเวลาจะเป็นตัวกำหนดชะตากรรมของเรามีความสุขความสำเร็จและเจริญเติบโตส่วนบุคคล Period. ระยะเวลา
30. POSDCoRB หลัก POSDCORB ของ Luther H. Gulick และ Lyndall Urwick .
ดูเหมือนว่านักวิชาการด้านรัฐประสาสนศาสตร์มีความเห็นร่วมกันว่า ทฤษฎีแนวความคิดหลักการบริหารได้เจริญถึงจุดสุดยอดในปี ค.ศ. 1937 อันเป็นปีที่ Gulick และ Urwick ได้ร่วมกันเป็นบรรณาธิการหนังสือชื่อ Papers on the ScienceAdministration เอกสารดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเอกสารประวัติสาสตร์เพราะรวบรวมเอาความคิดของ นักรัฐประศาสนศาสตร์ซึ่งสนับสนุนและเชื่อในหลักการบริหารความคิดและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักการบริหารของ Gulick ประมวลสรุปได้ดังต่อไปนี้
1. องค์การเกิดขึ้นมา เพราะมนุษย์ที่มาอยู่ร่วมกันได้ช่วยกันแบ่งงานกันทำตามความชำนาญพิเศษของแต่ ละคนซึ่งเป็นการประหยัดเวลาและแรงงานในการทำงานอย่างยิ่ง เมื่อสังคมขยายตัวขึ้นลักษระการแบ่งงานกันทำจะสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้นจนใน ที่สุดจำเป็นต้องสร้างกลไกหรือโครงสร้างบางประการเพื่อผูกโยงประสานหน่วยงาน แต่ละหน่วย (work unit) เข้าด้วยกันดังนั้นหัวใจทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การจึงเป็นเรื่องของความพยายาม จัดโครงสร้าง การประสานงานระหว่างหน่วยทำงาน ย่อยมากมายเหล่านี้
2. หลักในการประสานงานหน่วยทำงานย่อยมีอยู่สองวิธีที่ต้องใช้ควบคู่กันไป คือ วิธีแรกเรียนว่า การประสานงานโดยการสร้างกลไกในความควบคุมภายในองค์การ หมายถึงการจัดตั้งโครงสร้างอำนาจ (structure of authority) ซึ่งประกอบด้วยสายการบังคับบัญชาระหว่างหัวหน้าและลูกน้องเป็นลำดับชั้น เชื่อมโยงจากยอดถึงฐานของโครงสร้างอำนาจ โดยให้คนในแต่ละขั้นของโครงสร้างดังกล่าวแบ่งงานกันทำเป็นหน่วยงาน วิธีที่สอง เรียกว่า การประสานงานโดยการผูกมัดทางใจ ทำให้คนที่มาร่วมกันทำงานมีพลังจิตตั้งใจประกอบการงานเต็มความสามารถและทำ ด้วยความกระตือรือร้น บรรยากาศในการทำงานดังกล่าวจะสร้างขึ้นมาได้ต้องอาศัยความสามารถของผู้นำ (leadership) ในส่วนต่อไปนี้ผู้เขียนจะแสดงวิธีการประสานงานหน่วยงานย่อยทั้งสองวิธีโดย ละเอียด
31. Formal Leaders ผู้นำซึ่งเป็นชุดที่เป็นทางการ
32. Informal Leaders ผู้นำซึ่งเป็นกันเอง
33. Environment คืออะไร สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความรู้ (Knowlege) ทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ (Attributes) ที่จำเป็นในการ
ปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง (Job Roles) ให้ประสบความสำเร็จและมีความโดดเด่นกว่าคนอื่น ๆ ในเชิงพฤติกรรม เช่น มากกว่าเพื่อนร่วม
งาน ในสถานการณ์ที่หลากหลายกว่า และได้ผลงานดีกว่าคนอื่น เป็นต้น
34. Globalization ในปัจจุบันสังคมทั่วโลกมีการติดต่อสื่อสารกันได้อย่างทั่วถึงไม่ว่าจะเป็นการติดต่อระหว่างคนในภูมิภาคต่างๆในการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจหรือวัฒนธรรม จนสามารถเรียกได้ว่าโลกไร้พรมแดนที่ข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ไม่สามารถเป็นอุปสรรคของการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนระหว่างกันอีกต่อไป นักวิชาการได้บัญญัติศัพท์ โลกาภิวัตน์ (Globalization) ขึ้นใช้เมื่อประมาณ 60 กว่าปีมานี้ ซึ่งมีความหมายว่า กระบวนการทางสังคมที่เคยอยู่ภายใต้ข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ได้ลดลง และประชาชนเองก็ตระหนักถึงภาวะดังกล่าวนี้ด้วย (Malcolm)
35. Individual Behavior พฤติกรรม (Behavior) คือ การกระทำของบุคคล พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior) เป็นการศึกษาการกระทำของบุคคลในการทำงาน มี 2 ด้าน คือ
1. พฤติกรรมบุคคล (Individual Behavior)
2. พฤติกรรมกลุ่ม (Group Behavior
36. Group Behavior พฤติกรรมในองค์กร องค์กรจะสร้างรูปแบบของการดำเนินงาน ตลอดจนการปฎิบัติงานต่าง ๆ ขึ้น เพื่อสนองตอบการเปลี่ยนของสิ่งแวดล้อม และสภาวะที่เกิดจากการดำเนินงานของบุคคลและของกลุ่ม หรืออาจจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า รูปแบบเฉพาะในการดำเนินงานที่องค์กรสร้างขึ้นนั้น เป็นผลมาจากการปรับองค์ประกอบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันและกันได้
37. Organization Behavior พฤติกรรมองค์กร
38. Team working กลุ่มคนทำงานหรือเล่นกีฬาในกลุ่มเดียวกัน[กำลัง,การ]เป็นผลสำเร็จ
39. Six Thinking Hats หนึ่งครั้งหนึ่งเรื่องความ สับสนเป็นศัตรูที่สำคัญที่สุดของการคิดที่ดี เราพยายามทำหลายสิ่งหลายอย่างมากเกินไปในเวลาเดียวกัน เรามองหาข้อมูล เราได้รับผลกระทบจากความรู้สึกของเรา เราแสวงหาความคิดใหม่ๆและทางเลือกใหม่ แล้วเรายังต้องระมัดระวัง เราอาจเห็นประโยชน์ที่อาจมีอยู่ นั่นคือหลายสิ่งหลายอย่างที่เราต้องทำระหว่างการคิด การโยนรับสับเปลี่ยนหกลูกในเวลาเดียวกันเป็นเรื่องยาก ลูกเดียวต่อครั้งง่ายกว่ามากด้วยวิธีการคิดแบบหมวกนี้ เราพยายามทำเพียงสิ่งเดียวเท่านั้นในแต่ละครั้ง ครั้งหนึ่งเราอาจจะมองหาอันตรายที่อาจมีอยู่(หมวกดำ)อีกครั้งหนึ่งเราแสวงหา ความคิดใหม่ๆ(หมวกเขียว) และอีกบางครั้งที่เราสนใจข้อมูล(หมวกขาว)เราจะไม่พยายามทำทุกย่างในเวลา เดียวกัน เวลาเราทำงานพิมพ์สี สีแต่ละสีจะพิมพ์แยกกันทีละครั้ง ทีละสีและสุดท้ายเราก็ได้รับงานผลรวมเป็นงานพิมพ์สีที่สมบูรณ์ เช่นเดียวกับความคิดแบบหมวกทั้งหก เราทำแต่ละเรื่องในแต่ละครั้ง และสุดท้ายภาพที่เต็มสมบูรณ์ก็จะปรากฏภายใต้เรื่องราวทั้งหมดนี้คือความจำ เป็นทางจิตวิทยาที่ต้องแยกความคิดแต่ละแบบออกจากกัน
40. Classroom Action Research การวิจัยอากัปกิริยาห้องเรียน

กิจกรรมที่ 14

วิธีการสอนโดยใช้เครื่องมือหมวก 6 ใบ กับโครงงานแตกต่างกันอย่างไร
            การสอนแบบหมวก 6ใบนั้นมันจะคลอบคลุม พฤติกรรมทุกด้านที่สามารถนำไปปฎิบัติตามได้โดยมีรายละเอียดดังนี้
สรุปหมวกคิดสีขาว
                การคิดแบบหมวกสีขาวเป็นระเบียบวิธีและแนวทางในการเสนอข้อมูล  นักคิดต้องพยายามเป็นกลางให้มากและไม่ควรมีอคติ  สีขาวชี้ให้เห็นถึงความเป็นกลาง  ข้อมูลครอบคลุมได้ตั้งแต่ข้อเท็จจริงและตัวเลขที่ตรวจสอบได้  ไปจนถึงข้อมูลที่ไม่แน่นอน  เราจะใช้หมวกขาวตอนเริ่มต้นของกระบวนการคิด  เพื่อเป็นความคิดที่กำลังจะเกิดขึ้น  และเราก็สามารถใช้หมวกสีขาวในตอนท้ายของกระบวนการได้เหมือนกัน  เพื่อทำการประเมิน  เช่น  เสนอโครงการต่างๆของเราเหมาะสมกับข้อมูลที่มีอยู่หรือไม่  ส่วนที่สำคัญของหมวกสีขาวคือ  การระบุถึงข้อมูลที่จำเป็นและขาดหายไปหมวกขาวจะบอกถึงปัญหาที่ควรจะยกขึ้นมาถามและแสดงวิธีการเพื่อให้ได้มาเพื่อข้อมูลทีจำเป็นและมุ่งไปสู่การเสาะหาและตีแผ่ข้อมูล
 สรุปหมวกคิดสีแดง
                การใช้หมวกสีแดงจะทำให้มีโอกาสเปิดเผยความรู้สึก  อารมณ์  สัญชาตญาณหยั่งรู้ออกมาโดยไม่ต้องมีคำอธิบายหรือหาเหตุผลใด ๆ  สัญชาตญาณอาจจะอยู่บนพื้นฐานของประสบการณ์ที่ผ่านมา  เจตนารมณ์ของหมวกแดงคือ  การแสดงความรู้สึกอย่างที่เป็นอยู่ออกมา  ไม่ใช่การบีบบังคับให้ตัดสินใจ  อารมณ์ทำให้ความคิดยุ่งเหยิง   หมวกสีแดงเป็นวิธีที่มีประโยชน์ในการช่วยให้อารมณ์เหล่านั้นเป็นสิ่งที่สมเหตุสมผล  ยอมรับได้   สิ่งที่ยากที่สุดในการสวมหมวกสีแดงคือ  การฝึกความรู้สึกที่ยากจะหาเหตุผลให้กับอารมณ์ที่แสดงออกมา  ซึ่งการหาเหตุผลนั้นอาจถูกหรือผิดก็ได้
 สรุปหมวกคิดสีดำ
                หมวกคิดสีดำ  คือหมวกแห่งการระแวดระวังภัย  ในการพิจารณาข้อคิดเห็น  ข้อเสนอแนะหรือเรื่องอะไรก็ตาม  เมื่อถึงจุดหนึ่ง  เราก็ต้องนึกถึงความเสี่ยง  อันตราย  อุปสรรค  ข้อด้อยหรือปัญหาที่อาจจะเกิด  หมวกสีดำชี้ให้เห็นชี้ให้เห็นสิ่งที่เราควรใส่ใจและไตร่ตรองเพราะมันเป็นจุดอ่อนหรือเป็นอันตราย  เราอาจใช้หมวกสีดำเป็นส่วนหนึ่งของการประเมิน    เราควรเดินหน้าไปกับข้อเสนอนี้ไหม  หรืออาจใช้หมวกสีดำในขั้นตอนการระดมสมองและก่อร่างสร้างแนวคิด  มีจุดอ่อนอะไรบ้างที่เราควรหาทางป้องกันและแก้ไข  หมวกสีดำจะช่วยแจกแจงให้เราเห็นภาพความเสี่ยงและปัญหาที่อาจเกิดข้น  หมวกสีดำจะมองหาความสอดคล้อง  กับประสบการณ์ที่ผ่านมาหรือไม่  สอดคล้องกับนโยบายและวิธีการกับจริยธรรมค่านิยม  ทรัพยากร  และสอดคล้องกับข้อเท็จจริงและประสบการณ์ของผู้อื่นหรือไม่
สรุปหมวกคิดสีเหลือง
                การคิดแบบหมวกสีเหลืองเป็นการคิดในแง่ดีและในเชิงสร้างสรรค์  และเป็นการคิดประเมินค่าในทางบวก  รวมไปถึงความฝันและวิสัยทัศน์  การคิดแบบหมวกเหลืองเป็นการสำรวจหาคุณค่าและประโยชน์แล้วจึงพยามยามจะหาเหตุผลสนับสนุนคุณค่าและผลประโยชน์นั้นๆ   จากความคิดจากหมวกเหลือง  เราจะได้ข้อเสนอและข้อแนะนำที่เป็นรูปธรรม  การคิดแบบหมวกสีเหลืองเกี่ยวข้องกับการทำให้สิ่งต่าง ๆ เกิดขึ้น    อาจเป็นการคาดการณ์และการมองหาโอกาส  และจะก่อให้เกิดวิสัยทัศน์  จินตนาการและความฝัน
สรุปหมวกคิดสีเขียว
                หมวกสีเขียวเป็นหมวกแห่งพลังงาน  หมวกแห่งความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  หมวกสีเขียวจะผลักดันความคิดใหม่ๆออกมาและยังคิดถึงทางเลือกใหม่หรือสิ่งใหม่ที่ทดแทนของเก่าได้   รวมถึงทางเลือกที่ชัดเจนและใหม่สดจริงๆ  เมื่อเราสวมหมวกเขียวเราหาวิธีปรับเปลี่ยนและปรับปรุงความคิดใหม่ที่เสนอมา  การค้นหาทางเลือกเป็นพื้นฐานของหมวกคิดสีเขียว  เราจะต้องไปให้ไกลกว่าความคิดเห็นที่รู้กันแล้วหรือเห็นได้ชัดเจนอยู่แล้ว  ความคิดอาจหยุดเพื่อคิดสร้างสรรค์เพื่อพิจารณาว่ามีทางเลือกอื่นๆอีกหรือไม่  โดยไม่ต้องมีเหตุผลว่าทำไมจึงต้องหยุด  เราใช้การเลื่อนไหวความคิดเข้ามาแทนที่การตัดสินพิจารณาความคิด   การคิดเคลื่อนไหวไปข้างหน้า  เพื่อไปให้ถึงความคิดใหม่  ความคิดเชิงยั่วยุใช้เพื่อกระตุกเราให้หลุดจากแบบแผนความคิดแบบเดิม  หรือการคิดนอกกรอบ
สรุปหมวกคิดสีฟ้า
                หมวกคิดสีฟ้าจะกำหนดประเด็นที่เราจะต้องคิด  กำหนดความสนใจ  อะไรคือปัญหาอะไรคือคำตอบ  หมวกสีฟ้าจะกำหนดงานที่จะกำหนดงานคิดที่จะต้องทำ  ตั้งแต้ต้นจนจบและมีหน้าที่สรุป   วิเคราะห์สถานการณ์  และลงมติต่าง ๆ  หมวกคิดสีฟ้าต้องติดตามตรวจสอบการคิดเพื่อให้แน่ใจว่าเป็นไปตามกติกาการคิด  หมวกคิดสีฟ้าจะหยุดยั้งการโต้แย้งถกเถียง  และยืนกรานตามแผนที่ความคิด  จะคอยดูให้กระบวนการคิดเป็นไปตามกฎเกณฑ์
โดยการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานนั้นเป็น
                การสอนแบบโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน  เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรียนอย่างลุ่มลึก  โดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ปัญหา  ผู้เรียนจะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเอง  จึงเป็นการเรียนรู้จากการได้มีประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้การให้นักเรียนผู้ทำโครงงานได้เสนอผลงาน เป็นการเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมนี้จะส่งเสริมให้นักเรียนมีความกล้าแสดงออก เชื่อมั่นในผลงาน ตอบข้อซักถามของผู้สนใจได้  จากปีการศึกษา  2548-2550  ที่ผ่านมาเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของสาธารณะชนว่า กิจกรรมการสอนแบบโครงงานเป็นที่น่าภาคภูมิใจโดยเฉพาะนักเรียนได้รับเกียรติบัตรรางวัลในระดับการประกวดโครงงานต่าง ๆ มากมาย เช่น
-          โครงงานน้ำส้มควันไม้สมุนไพรกำจัดปลวก
-          โครงงานผ้าสวยด้วยสมุนไพร
-          โครงงานกังหัน พี วี ซี
-          โครงงานหอยเชอรี่เพิ่มประสิทธิภาพไก่ไข่  ฯลฯ
ซึ่งโครงงานเหล่านี้นักเรียนได้รับเกียรติบัตรจากการประกวดในระดับเครือข่าย  ระดับเขต  ระดับจังหวัด สร้างความภูมิใจให้นักเรียนและครูผู้เป็นที่ปรึกษา  นับว่าเป็นกิจกรรมที่ประสบผลสำเร็จที่เกิดจากผลผลิตของการจัดกิจกรรมการเรียนแบบโครงงานทั้งสิ้น
โดยสรุปแล้วไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนแบบ หมวก 6 ใบ หรือแบบโครงงานล้วนก็มีข้อแตกต่างกันอยู่บ้างแต่ก็มีความสำคัญทั้ง 2 อย่าง โดยเราสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับตัวเราได้เมือเราออกไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู


วันอาทิตย์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ข้อสอบ

คำสั่งให้นักศึกษาอ่านแล้วตอบลงในบล็อกดังนี้ 
1.Classroom managemant นักศึกษามีความเข้าใจความหมายอย่างไร และเกี่ยวข้องกับการศึกษาอย่างไร
ประเด็นสำคัญในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน
ในการจัดการเรียนการสอนในระบบใดก็ตาม บทบาทหน้าที่หลักของผู้สอนไม่แตกต่างกัน ตั้งแต่การออกแบบระบบการเรียนการสอน การเตรียมเนื้อหา การเลือก/ผลิตสื่อ การดำเนินกิจกรรมการเรียนการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน การสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน-ผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองการวัดและประเมินผล แต่สิ่งที่แตกต่างกันก็คือ เทคนิค และวิธีดำเนินการแต่ละขั้นตอนที่จะต้องปรับให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการเรียนการสอน ที่แตกต่างกันในแต่ละระบบให้สอดคล้องกับบทบาทของผู้เรียน
2.ท่านเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานวิชาชีพครู ซึ่งประกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน  มาตรฐานการปฏิบัติตน อย่างไร อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบมาตรฐานวิชาชีพ หมายถึง จุดมุ่งหมายหลักทีจะสร้างแนวทางปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพื่อให้เกิดความมั่นใจมนวิชาชีพของผู้ปฏิบัติ เพื่อให้การปฏิบัติงานอาชีพมีคุณภาพสูงสุด โดยความหมายดังกล่าว วิชาชีพใดๆ ย่อมให้บริการแก่สาธารณชน หรือองค์กรต่างๆ โดยต้องอาศัยความรู้ ความชำนาญเฉพาะ โดยมีมาตฐานในการประกอบอาชีพที่ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องได้รับ
 สำหรับความหมายของคำว่า มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา มีความหมายที่เป็นอาชีพชั้นสูงเช่นเดียวกับอาชีพชั้นสูงอื่นๆ เช่น แพทย์ วิศวกร สถาปนิก ทนายความ พยาบาล และอื่นๆ แต่ที่มีความต่างที่สำคัญก็เพราะมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาเป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้แก่ผู้รับบริการจากวิชาชีพได้ว่า เป็นบริการที่มีคุณภาพ และตอบสังคมได้
มาตรฐานความรู้ หมายถึง ข้อกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพครู มีคุณวุฒิทางการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง โดยต้องมีสาระความรู้และสมรรถนะตามมาตรฐาน
มาตรฐานความรู้เป็นตัวประกันว่าผู้ที่จะประกอบอาชีพนั้นๆจบการศึกษามาจากสาขาไหนและได้รับการศึกษามากน้อยเพียงไหนก่อนที่จะสามารถรับเข้าทำงานตามวุฒิการศึกษามาที่จบมาได้หรือไม่   ถ้าครูไม่มีความรู้เพียงพอก็ไม่ควรที่จะเผยแพร่ความรู้ให้ใครต่อไปได้

มาตรฐานประสบการวิชาชีพ ตัวกำหนดคือใบประกอบวิชาชีพนั้นคือหลักฐานว่าผู้ที่จะประกอบการหรือทำงานว่าได้ผ่านการการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเพียงพอก่อนที่จะประกอบอาชีพใดสำหรับใบวิชาชีพครูมีใบประกอบวิชาชีพครูโดยผู้เป็นครูจะต้องผ่านประสบการณ์การสอนมาอย่างน้อย1ปีก่อนที่จะมาเป็นครูผู้และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากำหนด
   มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการทำงานเป็นตัวกำหนดพฤติกรรมของครูว่าจะทำอะไรอย่างไรบ้างเป็นเครื่องมือในการประเมินผลตัวครูผู้สอนไปในตัวถ้าทำดีจะออกมาเป็นเกณฑ์อิกทีหนึ่งคือลูกศิษย์มีความรู้ความสามารถเพียงไหนก็ยิ่งสะท้อนมาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ของครูมากเท่านั้น
มาตรฐานการทำงานมีความหมายครอบคลุมมาตรฐานย่อยๆ ของการปฏิบัติงาน ๑๒ ประการด้วยกัน คือ
- ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ
- ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน
- มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
- พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง
- พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
- จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน
- รายงานผลกรพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ
- ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีกับผู้เรียน
- ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
- ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์
- แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
- สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์
มาตรฐานการปฏิบัติตน  หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับความประพฤติของผู้ปฏิบัติวิชาชีพในส่วนของคุณธรรมจรรยาบรรณของมาตรฐานวิชาชีพครู ๕ ประการดังต่อไปนี้
- จรรยาบรรณต่อตนเอง  คือ การแสวงหาความรู้อย่างสม่ำเสมอ
- จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ  คือ ไม่ใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่เสื่อม เช่น สุธีไม่ผ่านข้อสอบ ครูจึงให้สุธีเอาไก่ชนมาให้ครูครูจึงให้ผ่านเป็นต้น
- จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ  คือ ตรงต่อเวลา  เต็มความรู้ความสามรถที่ครูมี
- จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ  คือ ไม่ลำเอียงสามารถให้ความรู้และตัดสินผลการเรียนอย่างเป็นธรรม
- จรรยาบรรณต่อสังคม คือ ควรรับผิดชอบต่อสังคมด้วยเช่นอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจุบันอย่างตรงไปตรงมาและไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

3.ท่านมีแนวคิดหรือหลักการจัดชั้นเรียนในโรงเรียน อย่างไรที่จะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน
บรรยากาศในชั้นเรียนมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมความสนใจใคร่รู้ใคร่เรียนให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนที่มีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันและกัน ย่อมเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้ผู้เรียนรักการเรียน รักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และช่วยปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความประพฤติอันดีงามให้แก่นักเรียน นอกจากนี้การมีห้องเรียนที่มีบรรยากาศแจ่มใส สะอาด สว่าง กว้างขวางพอเหมาะ มีโต๊ะเก้าอี้ที่เป็นระเบียบเรียบร้อย มีมุมวิชาการส่งเสริมความรู้ มีการตกแต่งห้องให้สดใส ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ส่งผลทำให้ผู้เรียนพอใจมาโรงเรียน เข้าห้องเรียนและพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้น ผู้เป็นครูจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ ประเภทของบรรยากาศ หลักการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีลักษณะตามที่หลักสูตรได้กำหนดไว้
เนื่องจากชั้นเรียนมีความสำคัญ เปรียบเสมือนบ้านที่สองของนักเรียน นักเรียนจะใช้เวลาอยู่ในชั้นเรียนประมาณวันละ 5-6 ชั่วโมง อิทธิพลของชั้นเรียนจึงมีมากพอที่จะปลูกผังลักษณะของเด็กให้เป็นแบบที่ต้องการได้ เช่น ให้เป็นตัวของตัวเอง ให้สามารถทำงานเป็นหมู่คณะได้ดี ให้ชอบแสวงหาความรู้อยู่เสมอ ให้มีความรับผิดชอบ ให้รู้จักคิดวิเคราะห์ ดังนั้นเพื่อให้นักเรียนมีคุณลักษณะนิสัยดังประสงค์ และมีความรู้สึกอบอุ่นสบายใจในการอยู่ในชั้นเรียนครูจึงควรคำนึงถึงหลักการจัดชั้นเรียน ดังต่อไปนี้
1. การจัดชั้นเรียนควรให้ยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม ชั้นเรียนควรเป็นห้องใหญ่หรือกว้างเพื่อสะดวกในการโยกย้ายโต๊ะเก้าอี้ จัดเป็นรูปต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอน ถ้าเป็นห้องเล็ก ๆ หลาย ๆ ห้องติดกัน ควรทำฝาเลื่อน เพื่อเหมาะแก่การทำให้ห้องกว้างขึ้น
2. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมความรู้ทุกด้าน โดยจัดอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมหรือหนังสืออ่านประกอบที่หน้าสนใจไว้ตามมุมห้อง เพื่อนักเรียนจะได้ค้นคว้าทำกิจกรรมควรติดอุปกรณ์รูปภาพและผลงานไว้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
3. ควรจัดชั้นเรียนให้มีสภาพแวดล้อมที่ดี ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ซึ่งมีอิทธิผลต่อความเป็นอยู่และการเรียนของนักเรียนเป็นอันมาก ครูมีส่วนช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมให้ดีได้ เช่น ให้นักเรียนจัดหรือติดอุปกรณ์ให้มีสีสวยงาม จัดกระถางต้นไม้ประดับชั้นเรียน จัดที่ว่างของชั้นเรียนให้นักเรียนทำกิจกรรม คอยให้คำแนะนำในการอ่านหนังสือ ค้นคว้าแก้ปัญหา และครูควรสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน ไม่ให้เครียด เป็นกันเองกับนักเรียน ให้นักเรียนรู้สึกมีความปลอดภัย สะดวกสบายเหมือนอยู่ที่บ้าน
4. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีงาม ชั้นเรียนจะน่าอยู่ก็ตรงที่นักเรียนรู้จักรักษาความสะอาด ตั้งแต่พื้นชั้นเรียน โต๊ะม้านั่ง ขอบประตูหน้าต่าง ขอบกระดานชอล์ก แปลงลบกระดาน ฝาผนังเพดาน ซอกมุมของห้อง ถังขยะต้องล้างทุกวัน เพื่อไม่ให้มีกลิ่นเหม็น และบริเวณที่ตั้งถังขยะจะต้องดูแลเป็นพิเศษ เพราะเป็นแหล่งบ่อเกิดเชื้อโรค
5. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างความเป็นระเบียบ ทุกอย่างจัดให้เป็นระเบียบทั่งอุปกรณ์ของใช้ต่างๆ เช่นการจัดโต๊ะ ชั้นวางของและหนังสือ แม้แต่การใช้สิ่งของก็ให้นักเรียนได้รู้จักหยิบใช้ เก็บในที่เดิม จะให้นักเรียนเคยชินกับความเป็นระเบียบ
6. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสร้างเสริมประชาธิปไตย โดยครูอาจจัดดังนี้
6.1 จัดให้นักเรียนเข้ากลุ่มทำงาน โดยให้มีการหมุนเวียนกลุ่มกันไป เพื่อให้ได้ฝึกการทำงานร่วมกับผู้อื่น
6.2 จัดที่นั่งของนักเรียนให้สลับที่กันเสมอ เพื่อให้ทุกคนได้มีสิทธิที่จะนั่งในจุดต่างๆ ของห้องเรียน
6.3 จัดโอกาสให้นักเรียนได้หมุนเวียนกันเป็นผู้นำกลุ่ม เพื่อฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
7. ควรจัดชั้นเรียนให้เอื้อต่อหลักสูตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับปัจจุบันเน้นการจัดการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และให้ใช้กระบวนการสอนต่างๆ ดังนั้นครูจึงควรจัดสภาพห้องให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ เช่น การจัดที่นั่งในรูปแบบต่างๆ อาจเป็นรูปตัวยู ตัวที หรือครึ่งวงกลม หรือจัดเป็นแถวตอนลึกให้เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอนและการจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาให้ผู้เรียนรู้สึกกล้าถามกล้าตอบ กล้าแสดงความคิดเห็น เกิดความใคร่รู้ ใคร่เรียน ซึ่งจะเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาตน พัฒนาอาชีพ พัฒนาสังคม และเป็นคนเก่ง ดี มีความสุขได้ในที่สุด
จากที่กล่าวมาทั่งหมด สรุปได้ว่า หลักการจัดชั้นเรียน คือ การจัดบรรยากาศทางด้านกายภาพ และการจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาในชั้นเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ และเพื่อการพัฒนาผู้เรียนทั่งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป
4. ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จในการจัดการชั้นเรียนในโรงเรียน ได้แก่ (1) การจัดภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อมบริเวณโรงเรียน (2) สภาพอาคารเรียนและความปลอดภัย ท่านมีแนวคิดในการพัฒนา(1) และข้อ (2) อย่างไร ที่จะทำให้โรงเรียนประสบผลสำเร็จดังกล่าว
ทางโรงเรียนต้องมีการจัดภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อมบริเวณโรงเรียน สภาพอาคารเรียนและความปลอดภัย สภาพแวดล้อมดังกล่าวทำให้นักเรียนมีสุขภาพ ทางกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ซึ่งมีอิทธิผลต่อความเป็นอยู่และการเรียนของนักเรียนเป็นอันมาก ครูมีส่วนช่วยเสริมสร้างสภาพแวดล้อมให้ดีได้ เช่น ให้นักเรียนจัดหรือติดอุปกรณ์ให้มีสีสวยงาม จัดกระถางต้นไม้ประดับชั้นเรียน จัดที่ว่างของชั้นเรียนให้นักเรียนทำกิจกรรม คอยให้คำแนะนำในการอ่านหนังสือ ค้นคว้าแก้ปัญหา และครูควรสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน ไม่ให้เครียด เป็นกันเองกับนักเรียน ให้นักเรียนรู้สึกมีความปลอดภัย สะดวกสบายเหมือนอยู่ที่บ้าน
5. ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตคำว่าคุณภาพผู้เรียนท่านมีความเข้าใจอย่างไรอธิบายยกตัวอย่างประกอบ ในทัศนคติของนักศึกษาครู
คุณภาพผู้เรียนต้องประกอบด้วย
มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวอย่าง
1.1 มีวินัย มีความรับผิดชอบ และปฏิบัติตนตามหลักธรรมเบื้องต้นของศาสนาที่ตนนับถือ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต
1.3 มีความกตัญญูกตเวที
1.4 มีเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละเพื่อส่วนรวม
1.5 ประหยัด รู้จักใช้ทรัพย์สิ่งของส่วนตน และส่วนรวมอย่างคุ้มค่า
1.6 ภูมิใจในความเป็นไทย เห็นคุณค่าภูมิปัญญาไทย นิยมไทย และดำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีจิตสำนึก ในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวอย่าง
2.1 รู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
2.2 เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับ
ผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ตัวอย่าง
3.1 มีทักษะในการจัดการและทำงานให้สำเร็จ
3.2 เพียรพยายาม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในการทำงาน
3.3 ทำงานอย่างมีความสุข พัฒนางานและภูมิใจในผลงานของตนเอง
3.4 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
3.5 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนสนใจ
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ
มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์
ตัวอย่าง
4.1 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปความคิดรวบยอด คิดอย่างเป็นระบบและมีการคิดแบบองค์รวม
4.2 สามารถคาดการณ์ กำหนดเป้าหมาย และแนวทางการตัดสินใจได้
4.3 ประเมินและเลือกแนวทางการตัดสินใจ และแก้ไขปัญหาอย่างมีสติ
4.4 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มองโลกในแง่ดี และมีจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
ตัวอย่าง
5.1 มีระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยตามเกณฑ์
5.2 มีผลการทดสอบรวบยอดระดับชาติเฉลี่ยตามเกณฑ์
5.3 สามารถสื่อความคิดผ่านการพูด เขียน หรือนำเสนอด้วยวิธีต่างๆ
5.4 สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
5.5 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวอย่าง
6.1 มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และการฟัง รู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผล
6.2 สนใจแสวงหาความรู้จากแหล่งต่างๆ รอบตัว ใช้ห้องสมุด แหล่งความรู้และสื่อต่าง ๆได้ ทั้งในและนอกสถานศึกษา
6.3 มีวิธีการเรียนรู้ของตนเอง เรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้ สนุกกับการเรียนรู้และชอบมาโรงเรียน
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวอย่าง
7.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ
7.2 มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
7.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
7.4 มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม และให้เกียรติผู้อื่น
7.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
มาตรฐานที่ 8 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา
ตัวอย่าง
8.1 ชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านศิลปะ
8.2 ชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านดนตรี/นาฏศิลป์
8.3 ชื่นชม ร่วมกิจกรรม และมีผลงานด้านกีฬา/นันทนาการ
6. ผลจากการประเมินพบว่าในปัจจุบันนี้ นักเรียนของประเทศไทย ยังมีปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมและคุณธรรมเป็นอย่างมาก ในฐานะที่นักศึกษาจะเป็นครูในอนาคตจะมีวิธีการอย่างไรที่จะกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นจริยธรรมและคุณธรรมให้เกิดขึ้นกับนักเรียน อธิบายและยกตัวอย่างประกอบ
การพัฒนาคนหรือทรัพยากรมนุษย์ เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด ของการพัฒนาที่ยั่งยืน และสิ่งที่สำคัญในการพัฒนาคนก็คือ การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลาย ๆ รูปแบบ โรงเรียนมีหน้าที่โดยตรงในการปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีงาม ให้แก่นักเรียนให้เป็นคนดีมีคุณภาพ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
โดยทางโรงเรียนต้องตระหนักในความสำคัญส่วนนี้ จึงมุ่งมั่นที่จะพัฒนาเด็กให้เป็นคนดี เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ เสียสละ ขยัน ประหยัด อดทน และมีสัมมาคารวะ ให้นักเรียนได้สัมผัสความดีที่เป็นรูปธรรม จึงได้จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ในรูปแบบของวิถีชีวิตไทย การออมทรัพย์วันละบาท และธนาคารแห่งคุณธรรม
การส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมจริยธรรมให้นักเรียน ด้วยการปรับปรุงระเบียบการลงโทษนักเรียน มาเป็นระเบียบการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน งดการลงโทษทุกวิธี แต่เปลี่ยนเป็นการส่งเสริมให้นักเรียน ทำความดีทดแทนความผิด ซึ่งกำหนดขั้นตอนไว้ 5 ขั้นตอนคือ
1. ให้นักเรียนวิเคราะห์ความผิดของตนเอง
2. ครูอาจารย์ ชมว่านักเรียนเป็นคนซื่อสัตย์ ทำผิดแล้วยอมรับผิด
3. ให้นักเรียนเสนอวิธีทำความดีทดแทน
4. นักเรียนปฏิบัติตามวิธีที่เสนอและครูอาจารย์ติดตามผล
5. ประกาศความดีให้ทุกคนประจักษ์
จะทำให้นักเรียนทุกคนมีศักดิ์ศรี มีคุณค่า มีความแตกต่างทำให้เกิดความมุ่งมั่นว่า เด็กทุกคนสามารถพัฒนาให้เป็นคนดีได้ ซึ่งต้องใช้ทฤษฎีเสริมแรงเข้าช่วย โดยการให้ความรัก ความเมตตา ความเอื้ออาทร ความเป็นกัลยาณมิตร การยอมรับซึ่งกันและกัน การให้รางวัลแทนการลงโทษ ให้โอกาส และสร้างโอกาสให้นักเรียนประพฤติตนเป็นคนดี
ทางโรงเรียนต้องจัดทำโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน โดยใช้ชื่อโครงการว่า "โครงการเพื่อนรักรักเพื่อน" มุ่งเน้นให้นักเรียนกระทำตนเป็นคนดีมีความซื่อสัตย์ เสียสละ ขยัน ประหยัด อดทน และมีสัมมาคารวะ จึงเป็นเพื่อนที่รักของนักเรียนคนอื่น ๆ ขณะเดียวกันก็จะเลือกคบเพื่อนรักที่เป็นคนดีและสามารถพัฒนาตนเองจนเป็นที่รักของทุกคน ในโครงการดังกล่าวนี้จะประกอบด้วยกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมที่เป็นหัวใจสำคัญของโครงการคือ
1. กิจกรรมวิถีชีวิตในโรงเรียน
2. กิจกรรมออมทรัพย์วันละบาท
3. กิจกรรมธนาคารแห่งคุณธรรม กิจกรรมวิถีชีวิตในโรงเรียน
เป็นการปฏิบัติตนของนักเรียน เริ่มตั้งแต่นักเรียนมาถึงโรงเรียนในตอนเช้าบริเวณประตูโรงเรียน บริเวณโรงอาหาร ในห้องเรียน ก่อนเข้าแถว การเล่นนอกห้องเรียน การเข้าแถวเคารพธงชาติ โฮมรูม การเข้าแถวไปเรียนวิชาพิเศษ มารยาทในห้องเรียน การใช้ห้องน้ำห้องส้วม การรับประทานอาหารกลางวัน การทิ้งขยะ การรอผู้ปกครอง การกลับรถรับ - ส่ง
กิจกรรมออมทรัพย์วันละบาท
นักเรียนในแต่ละห้องฝากเงินออมทรัพย์ประจำวัน กับเจ้าหน้าที่การเงินของห้อง และเมื่อสิ้นปีการศึกษา ประมาณต้นเดือนมีนาคมอาจารย์ที่ปรึกษา เบิกเงินจากธนาคารจ่ายคืนให้คณะกรรมการ นักเรียนที่ทำหน้าที่ฝ่ายต่าง ๆ ของกิจกรรมออมทรัพย์เพื่อจ่ายคืนแก่ผู้ฝากแต่ละห้อง ตามจำนวนเงินในหลักฐานสมุดบัญชีของห้อง

อ้างอิง
                           Images.ed426.multiply.multiplycontent.com ความหมายการจัดการชั้นเรียน       school.obec.go.th/person_nara1/download/article/teacher มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาbunditone.multiply.com/journal/itemประโยชน์หลักการจัดการเรียนรู้ และ inded.rmutsv.ac.th/dated/บรรยากาศในการจัดการบริหารในชั้นเรียนwww.suwannaramwittayakom.com การปรับสภาพให้เอื้อต่อการเรียนรู้

กิจกรรมที่13

The Healthy Classroom : ----------- โดย อาจารย์อภิชาติ วัชรพันธุ์               แนวคิดของ Steven Hastings (2006) จากหนังสือที่ชื่อว่า
       
ในวันนี้ กล่าวถึงความสำคัญของ "The Complete Classroom" โดย Hasting ได้เสนอแนะว่า "ห้องเรียนคุณภาพ/ห้องเรียนที่สมบูรณ์แบบ" น่าจะมีลักษณะที่สำคัญ 3 องค์ประกอบ คือ 1) The Healthy Classroom....เป็นห้องเรียนที่ให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียน 2) The Thinking Classroom....เป็นห้องเรียนที่เน้นการส่งเสริมด้านการคิดวิเคราะห์ หรือพัฒนาการทางสมอง และ 3) The Well-Rounded Classroom....ห้องเรียนบรรยากาศดี The Healthy Classroom เพราะในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา ได้มีข่าวเรื่องนักเรียนโรงเรียนมีชื่อแห่งหนึ่ง จุดไฟเผาอาคารเรียน-อาคารห้องสมุดของโรงเรียน(ขออนุญาตไม่เอ่ยชื่อโรงเรียนซ้า เพราะคิดว่าไม่เกิดผลดีทั้งต่อโรงเรียนและเด็ก) ซึ่งผมคิดว่าปัญหาส่วนหนึ่งน่าจะเนื่องมาจากการจัดการเรียนการสอนในประเทศของเรา โดยเฉพาะในโรงเรียนที่ได้รับความนิยมสูง จะเน้นในความเป็น “The Thinking Classroom” หรือห้องเรียนที่เน้นด้านสมอง ด้านวิชาการมากเป็นพิเศษ ทาให้ลดโอกาสในการสร้าง “The Healthy Classroom” : ห้องเรียนที่ให้ความสำคัญกับเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียน การเกิดเหตุการณ์ครั้งนี้ คิดว่าเป็นการเสียหายที่น้อยมาก คือ เสียอาคารเพียงหลังเดียวและคุ้มค่ามาก หากเราจะได้บทเรียนและหันมาทบทวนกันอย่างจริงจังในเรื่องความเป็นห้องเรียนสุขภาพดี ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตของนักเรียนเพื่อลดโอกาสความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต  ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องนี้ เพื่อสักวันหนึ่ง เราจะต้องไม่มานั่งเสียใจกับปัญหานักเรียนทำร้ายร่างกายตนเอง นักเรียนฆ่าตัวตาย หรือนักเรียนมีพฤติกรรมก้าวร้าว ทาร้ายผู้อื่น/ทาลายสิ่งของ
        คำถามที่ผมอยากให้ทุกคนร่วมกันคิด โดยเฉพาะผู้จะเป็นครู คือ
         1) ในปัจจุบัน เด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีสุขนิสัยที่ดี ในเรื่องพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมหรือไม่ เพียงใด
              เหตุการณ์ในปัจจุบันนี้หลายๆเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทย เช่น นักเรียนทำร้ายตัวเองด้วยการฆ่าตัวตาย  พฤติกรรมก้าวร้าว เช่น ทำร้ายครู  ทำลายสิ่งของ  สิ่งที่นอกเหนือจากการจัดการชั้นเรียนในโรงเรียนแล้วสิ่งที่สำคัญที่สุดกระผมคิดว่าสถาบันในครอบครัวของนักเรียนและการจัดการภายในครอบครัวของเขานั้นบกพร่องด้วย   อันเกิดจากการขาดความรู้ของผู้ปกครองหรืออย่างไรก็แล้วแต่  ในสมัยนี้เทคโนโลยี่ทันสมัยและก้าวหน้ากว่าก่อนมากจะเป็นดาบสองคมที่เป็นประโยชน์และทำร้ายตัวเองรวมทั้งสังคมได้  ของเล่นของเด็กก็ยิ่งทันสมัยตามมาด้วย    ยกตัวอย่างเช่น เกมส์ออนไลน์   ที่สามารถเล่นกับเพื่อนได้โดยไม่ต้องเห็นหน้ากันได้ การใช้เทคโนโลยี่อินเตอร์เน็ตที่ไร้การควบคุมและไปในทางที่ไม่ควร เหล่านี้ทำให้เด็กห่างเหินกับการอบรมสั่งสอนของพ่อแม่เพราะกิจกรรมส่วนใหญ่นอกเหนือจากโรงเรียนแล้วกิจกรรมประจำวันก็พัวพันอยู่กับสิ่งเหล่านี้ จึงทำให้พฤติกรรมของเด็กเบี่ยงเบนไปในที่สุด เช่น การกินก็กินไม่เป็นเวลาส่งผลต่อพํฒนาการทางร่างกาย    การเล่นเกมส์ที่รุนแรง เช่น เกมส์ต่อสู้  ทำให้สภาวะทางอารมณ์ของเด็กรุนแรงและก้าวร้าวตามมาด้วย การมุ่งมานะที่จะชนะเกมส์ให้ได้นั้นทำให้เขารู้สึกเสียใจผิดหวังอาจถึงกับฆ่าตัวตายได้นั้นสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาของสังคมที่เป็นผลมาจากหลายสาเหตุไม่ใช่แค่การบกพร่องทางการศึกษาเพียงผ่ายเดียวทุกส่วนของสังคมต้องร่วมกันแก้ไขเรื่องนี้อย่างเร่งด่วนแต่บทบาททางการจัดการศึกษาควรเป็นสถาบันที่สำคัญที่สุดและตรงตัวที่สุดสำหรับปัญหานี้
              

       2) ในปัจจุบันเด็กไทย(รวมถึงผู้ใหญ่ไทย) มีกีฬาประจำตัว มีปฏิทินการออกกำลังกาย และได้ออกกำลังกายตามปฏิทินอย่างจริงจัง มากน้อยเพียงใด(ทุกครั้งที่ไปโรงพยาบาล แพทย์ไทย มักจะถาม     คำถามว่า มีโรคประจำตัวอะไรบ้างแต่ไม่เคยถามว่า หนู มีกีฬาประจำตัวหรือไม่ มีปฏิทินออก  กำลังกายไหม)
              ในปัจจุบันนี้ต้องยอมรับว่าการตื่นตัวเรื่องการรักสุขภาพเริ่มมีมากขึ้นในคนไทยไม่ว่าเด็กนักเรียนวันรุ่นหรือผู้ใหญ่ที่ทำงานแล้วก็ตามอันเนื่องมาจากกระแสของสังคมก็ตามแต่การมีหน่วยงานที่ส่งเสริมที่จัดขึ้นเพื่อการส่งเสริมกีฬาและอย่างอื่นด้วยเช่นดนตรีเช่น โครงการ   toobee nember  one  และการจัดแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติดทั่วประเทศ เช่นในโรงเรียน   กีฬาระดับหมู่บ้าน   ถึงกระแสการตื่นตัวจะมากขึ้นจริงแต่ก็ยังมีคนจำนวนไม่น้อยที่ยังเฉยๆเป็นนิสัยอยู่ไม่รับรู้อะไรเพราะเขาถือว่าหน้าที่การงานของเขาเป็นการออกกำลังกายแล้วเช่น คนงานก่อสร้าง       ชาวเกษตรกรรม  เราจะให้เขามาออกกำลังกายได้อย่างไรในเมื่อการงานของเขาก็เป็นงานหนักเอาการอยู่และจะต้องใช้พละกำลังอยู่เสมอเป็นประจำวันอยู่แล้ว    ฉะนั้นการออกกำลังกายส่วนใหญ่แล้วถ้าเป็นผู้ใหญ่ก็เป็นอาชีพที่ทำงานเบาๆไม่หนักคนที่มีเวลาว่างพอสมควรคนที่ทำงานด้วยการนั้งอยู่กับที่เป็นเวลานานๆ ก็มักเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้ ส่วนเด็กนักเรียนนักศึกษานั้นจำเป็นอย่างมากไม่มีภาระหนักหนา
              ไม่ว่าจะเป็นใครอาชีพใดเขาก็ห่วงและรักชีวิตกันทั้งนั้นการออกกำลังกายมีหลายรูปแบบถ้าใจรักในการออกกำลังกายห่วงสุขภาพตัวเองก็สามารถที่กระทำได้ทั้งนั้นทั้งนั้นดั่งเช่นคำว่ากีฬากีฬาเป็นย่าวิเศษคำกล่าวนี้ได้แสดงให้เห็นว่าการออกกำลังกายจะช่วยให้ร่างกายแข่งแรงมีภูมิต้านทานจะเห็นได้จากนักกีฬาจะไม่ค่อยเจ็บไข้ได้ป่วยถ้าป่วยก็ใช้เวลาไม่นานในการรักษา

 3) เด็กไทยมีความสามารถในการบริหารสุขภาพจิต การควบคุมอารมณ์ หรือการพัฒนาบุคลิกภาพหรือไม่ เพียงใด(ดูได้จากบรรยากาศการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ในทันทีที่มีการประกาศผลการแข่งขัน จะมี 1 ทีมที่ร้องให้ ควบคุมอารมณ์ไม่ได้) 
คนทุกคนมีความรู้สึกพื้นฐานทางอารมณ์ไม่เหมือนกันอยู่ที่สภาพแวดล้อมการอบรมณ์สั่งสอนและวุฒิภาวะของแต่ละคนซึ่งวัยเดียวกันอาจมีไม่เหมือนกันได้
เด็กไทยในวันนี้ถือว่ามีการควบคุมอารมณ์เก็บความรู้สึกได้น้อยเมื่อมีเหตุการณ์ที่มากระทบอารมณ์ความรู้สึกนึกอาจจะเกิดจากการเลี้ยงดูที่ตามใจของพ่อแม่และการเลี้ยงดูที่ผิดวิธี เช่น อยากได้อะไรต้องได้  พอไม่ได้เข้าก็เลยร้องให้ฟูมฟายจนพ่อแม่ยอมให้เลยเคยใจมาติดเป็นนิสัย
การปรับปรุงพฤติกรรมเหล่านี้ในชั้นเรียนของครู
1.ครูต้องมีเหตุผลพอและไม่ดุด่าต่อว่าเขาเพราะเด็กเหล่านี้มีความหวั่นไหวทางอารมณ์สูงอยู่แล้วเป็นพื้นฐาน
2.ต้องมีการเข้าฝึกอบรมเช่น  อบรมคุณธรรมจริยธรรม
3.สอนให้เขามองโลกในแง่บวก ยกตัวอย่างเช่น  ไม่เคยมีแช่มเพี้ยนคนไหนที่ไม่เคยแพ้มาก่อน
4.สอนวิธีคิดใหม่หลายๆรูปแบบ เช่น แบบหมวก6ใบ
5.ให้นักเรียนวิเคราะห์ตนเองว่าเขาบกพร่องด้านใดและจะพัฒนาตนเองอย่างไร
       4) ขณะนี้โรงเรียนได้ให้ความสำคัญในเรื่องสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็ก พอ ๆ กับ การส่งเสริมด้านวิชาการหรือไม่ โดยเฉพาะในโรงเรียนที่ได้รับค่านิยมสูง(มีชื่อเสียง)
ตอบ  ในโรงเรียนที่เน้นวิชาการมากเกินไปจะเกิดช่องว่างระหว่างเด็กเก่งและเด็กที่เรียนอ่อนเพราะเด็กที่เรียนเก่งจะไม่รับเด็กเรียนอ่อนเข้ากลุ่มจุดนี้ครูควรใช้ความระมัดระวังด้วยและควรจัดการชั้นเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน คือให้คนที่เก่งช่วยสอนเสริมหรือติวให้เพื่อนที่เรียนอ่อนคือให้ใช้คะแนนแบบอิงกลุ่มจะเป็นการบังคับให้เพื่อนช่วยเพื่อนไปในตัว ครูไม่ควรคาดหวังในตัวคะแนมากจนเกินไปเพราะจะทำให้เด็กที่เรียนเก่งเห็นแก่ตัวมากขึ้นครู ควรเน้นการที่ให้เด็กได้รับความรู้ให้ได้มากที่สุด จะเป็นการช่วยเพิ่มจริยธรรมให้เด็กที่เรียนเก่งไปในตัวและช่วยให้เด็กที่เรียนอ่อนได้พํฒนาตนเองมากขึ้นมา

       5) เมื่อเปิดภาคเรียน ภายใน 2 สัปดาห์แรก ครูประจาชั้นได้ทำความรู้จักกับนักเรียนมากน้อยเพียงใด มีการจำแนกเด็กนักเรียนเป็นกลุ่มเสี่ยง-กลุ่มปกติหรือไม่ (กลุ่มเสี่ยงหมายถึง ผลการเรียนอ่อน สุขภาพไม่ดี มีปัญหาทางครอบครัว รวมถึงมีผลการเรียนดีมาก เกรดเฉลี่ย 4.00 มาโดยตลอด ซึ่งจะเสี่ยงในเรื่องความเครียด)
ตอบ ขั้นแรกครูควรทำแบบสอบถามเพื่อทราบข้อมูลในตัวเด็กแต่ละคนและใช้วิธีการสังเกตุพฤติกรรมในการเรียนในชั้นเรียนและ นอกชั้นเรียนจากนั้นก็มาจำแนกเด็กเป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เรียนดีส่วนเด็กที่มีปัญหาครอบครัวนั้นครูต้องใช้ความระมัดระวังถึงการทราบถึงข้อมูลเพราะอาจกระทบถึงปมด่อยของนักเรียนได้ อาจใช้วิธีโดยการถามเพื่อนหรือเยี่ยมบ้านโดยไม่เป็นการกระทบต่อตัวนักเรียนโดยตรงจากนั้นก็มาแก้ปัญหาโดยให้ผู้ปกครองมีส่วนช่วยด้วยจากนั้นก็ทำแบบประเมินก่อนและหลังการทำการแก้ไขปัญหาโดยการจัดทำแผนการเรียนให้เหมาะสมกับเด็กส่วนเด็กที่เรียนนั้นครูควรระมัดระวังในการจัดการเรียนการสอนเพราะเด็กจำพวกนี้จะมีความเครียดสูงครูควรจัดบรรยากาศในชั้นเรียนแบบเป็นกันเองกับนักเรียนให้มากที่สุดเพื่อลดความเครียดไม่ควรให้ความสำคัญกับคะแนนมากเกินไปควรทำกิจกรรมแบบบูรณาการและแสดงบทบาทเสริมคุณธรรมรมไปถึงประสบการเพราะเด็กพวกนี้เก่งวิชาการอยู่แล้วและครูยกตัวอย่าง ประกอบในกรณีที่เกี่ยวข้องกับตัวเขาและให้เขาร่วมวิเคราะห์และแก้ปัญหาตัวเองด้วย


       6) ครูประจาชั้น หรือโรงเรียนได้จัดระบบดูแล-ช่วยเหลือเด็กกลุ่มเสี่ยงอย่างไรบ้าง เพื่อลดความเสี่ยงในชีวิต(สมัยที่ผมเป็นครูประจำชั้น ผมจะประกาศรายชื่อผู้ช่วยอาจารย์ประจำชั้นโดยเลือกจากนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้นักเรียนเหล่านี้มีโอกาสทางานใกล้ชิดกับครู มีการประชุมร่วมกันสัปดาห์ละ 1 ครั้ง)
     ตอบโดยปกติแล้วเด็กกลุ่มเสี่ยงจะไม่ค่อยเข้าใกล้ครูฉะนั้นครูควรทำความเข้าใจตัวนักเรียนและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและให้เขารู้สึกไว้ใจในตัวครูเสียก่อนแต่มันต้องใช้เวลาให้เวลาเขาครูไม่ควรใช้วิธีแบบบังคับเพราะจะทำให้นักเรียนเกลงและพะวงมากขึ้นจากนั้นก็ค่อยๆแก้ปัญหาค่อยถามเขาพอเขารู้สึกดีแล้วเขาก็จะเข้าหาครูเอง

  7) โรงเรียนมีการพัฒนารายวิชา(วิชาเลือก/วิชาเพิ่มเติม) ที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมอารมณ์ การพัฒนาบุคลิกภาพ การบริหารจัดการกับปัญหาสุขภาพจิต ฯลฯ หรือไม่(หลักสูตรประเทศสิงค์โปร์ เด็กอนุบาล ต้องเรียนวิชา การควบคุมอารมณ์”)
ทางโรงเรียนแต่ละโรงเรียนควรมีคาบแนะแนวเพราะครูแนะแนวจะมีความรู้ในด้านจิตวิทยาอยู่แล้วและจะเข้าใจในวิธีการดีกว่าครูทั่วไปจะแก้ปัญหาตรงจุดมากขึ้น การพัฒนาบุคลิกภาพเป็นสิ่งที่จำเป็นเพราะยิ่งเด็กหลายคนปัญหาก็ยิ่งมากเพราะเด็กแต่ละคนมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไปการพัฒนาบุคลิกที่ดีและได้ผลดีที่สุดนั้นต้องเริ่มทำเป็นช่วงๆไปเพราะการพัฒนาของเด็กแต่ละวัยไม่เหมือนกันต้องจัดให้เหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุเช่น เด็ก เด็กแรกเกิดจะตอบสนองทางปากโดยการร้องถ้าตอบไม่เต็มที่โตมาจะมีลักษณะนิสัยที่พูดมาก เป็นต้น


     
  8) โรงเรียนมีการประเมินมาตรฐานด้าน สุขภาพกาย และสุขภาพจิต เป็นระยะ ๆ อย่างจริงจังมากน้อยเพียงใด
ตอบ   ทุกโรงเรียนมีการประเมินอยู่แล้วเช่นชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงและถ้าพบว่าเด็กไม่ถึงเกณฑ์ก็ช่วยเหลือโดยการให้บัตรฟรีในการรับประทานอาหารกลางวัน


       9) โรงเรียนมีแบบประเมิน/แบบสังเกตภาวะสุขภาพกาย สุขภาพจิตของนักเรียน เพื่อครูประจาชั้น และ พ่อแม่ใช้ในการสังเกต-ประเมินนักเรียนในความรับผิดชอบ หรือบุตรหลานของตนเอง หรือไม่ ฯลฯ
       ตอบมีครับทุกโรงเรียนต้องมีการทำแบบประเมิน สังเกตต่างๆเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดการเรียนรู้ของตัวนักเรียน ต้องมีการประชุมผู้ปกครองมารับทราบปัญหาด้วยเพื่อจะไดแก้ปํญหาร่วมกัน

        การทบทวนคำถาม ดังกล่าวข้างต้น จะทำให้เรามองเห็นสภาพปัจจุบัน-ปัญหา ในการจัดการศึกษาของโรงเรียนหรือของประเทศไทย โดยเฉพาะในเรื่อง การพัฒนาเด็กแบบไม่สมดุล ที่เน้นการพัฒนาด้านวิชาการ มากกว่าการพัฒนา ด้านสุขนิสัย สุขภาพกาย สุขภาพจิต ซึ่งเป็นเรื่องสาคัญ จากการศึกษาแนวคิด เรื่อง The Healthy Classroom Hasting(2006) ได้เขียนถึงปัญหา การบริโภคอาหารไร้คุณภาพ(Junk Food) ปัญหาการเบี่ยงเบนทางเพศ ปัญหาการทำร้ายร่างกายตนเอง ปัญหาการฆ่าตัวตายของเด็ก ฯลฯ ซึ่งปัญหาเหล่านี้ชักจะเข้าใกล้ประเทศเรามากยิ่งขึ้นทุกวัน ยกเว้นเราจะมีการทบทวนสภาพปัญหาเหล่านี้กันอย่างจริงจัง ผมเชื่อว่า จะนำไปสู่การกาหนดยุทธศาสตร์ หรือแนวทางการแก้ปัญหา ที่เป็นรูปธรรม ในโอกาสต่อไปได้อย่างแน่นอน ทางเลือกเพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตนักเรียน
          จากคำถามดังกล่าวให้สรุปและตอบลงในบล็อกของนักศึกษา

วันอาทิตย์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

กิจกรรมที่12


ภาพความประทับใจ
ในการศึกษาภาคสนามในครั้งนี้
นาย ศราวุธ   แก้วฉิมพลี
รหัส 5111116018  โปรแกรมสังคมศึกษา ห้อง 1


มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
จากการที่ได้ไปศึกษาภาคสนามในครั้งนี้มีหลายแห่งที่กระผมชื่นชอบและสวยงามแต่ที่กระผมมีความประทับใจมากที่สุดคือในสถานที่โบราณสถานประวัติศาสตร์ที่สุโขทัยมากที่สุด
เนื่องจากในส่วนตัวแล้วกระผมชอบประวัติศาสตร์อยู่แล้วจากการที่ได้เรียนรู้จากอาจารย์ผู้สอนและจากการที่ได้อ่านหนังสือแต่ไม่เคยได้ไปสัมผัสด้วยสายตาของตัวเอง นับว่าเป็นโอกาสที่ดีในครั้งนี้ที่ได้ไปเห็นสถานที่จริงๆ ทำให้มีความรู้อย่างรากลึกมากยิ่งขึ้นจากการที่ได้ฟังอาจารย์ผลัดกันบรรยายในรถหลายๆท่านและจากการที่ฟังจากผู้บรรยายในสถานที่
จากข้อความในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงที่ว่า ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว แสดงให้เห็นถึงสภาพทางเศรษฐกิจของสังคมสมัยนั้นว่ามีความสมบูรณ์พูนสุขทั้งนี้เนื่องจากจำนวนประชากรมีน้อยกว่าทรัพยากรธรรมชาติประเภทอาหารถ้านำไปเปรียบเทียบในเรื่องของความสุขของประชากรสมัยอยุธยากับสุโขทัย กระผมคิดว่าสมัยสุโขทัยคงมีความสุขในการดำรงชีพมากกว่าอยุธยาทั้งนี้เนื่องจากอยุธยามีความเคร่งเครียดกับสงคราม ชนชั้นผู้ปกครองในสมัยสุโขทัยมีความสัมพันธ์ใกล้ ชิดกับราษฎรมากกว่าทั้งนี้เพราะลักษณะการปกครองแบบครอบครัวหรือพ่อปกครองลูก   ถึงแม้สังคมสุโขทัยจะอยู่ภายใต้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชแต่ประชาชนก็มีเสรีภาพมากกว่าอยุธยาดั่งข้อความศิลาจารึกที่ว่า   ใครจักใคร่ค้าช้างค้า  ใครจักค้าม้าค้า  ข้อความนี้แสดงให้เห็นถึงเสรีภาพในการค้าขายโดยในสมัยสุโขทัยมีการสนับสนุนการค้าโดยไม่เก็บภาษีซึ่งต่างกับอยุธยาที่มีการเก็บภาษีจังกอบ ภาษีสินค้า   แต่การค้าของอยุธยามีการขยายจากคู่ค่ากับเอเซียไปค้ากับชาวตะวันตกด้วย  อย่างไรก็ตามจากข้อความในศิลาจารึกสองตอนนี้ยังคงนี้มีการแสดงมุมมองของอาจารย์ที่แตกต่างกันไปในการบรรยายระหว่างเดินทางอย่างน่าตื่นเต้น   ทำให้นักศึกษาได้เห็นมุมมองกว้างขึ้น  และมันก็เป็นการกระตุ้นต่อมอยากรู้ของกระผมมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม  แสดงให้เห็นว่าการตีความทางประวัติศาสตร์นั้นผู้ที่ตีความนั้นจะตีความตามมุมมองของนักวิชาการแต่ละคน  การที่จะเชื่อใครนั้นผู้รับต้องมีเหตุผลและฟังรับรู้ข้อมูลหลายๆด้านมาประกอบ  การอ้างอิงถึงข้อมูลที่ได้มานั้นมีความสำคัญมาก  ในการที่จะตัดสินใจรับรู้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์โดยสังเขปของสุโขทัย
สุโขทัยรุ่งเรืองมากในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชซึ่งเป็นกษัตริย์ไทยที่มีความสามารถทางด้านการรบ   การปกครอง   อักษรศาสตร์และการต่างประเทศ ทรงสามารถขยายอำนาจเข้าไปในดินแดนที่เคยเป็นของเขมรมาก่อน   ทางตะวันออกทรงแผ่อำนาจไปถึงหลวงพระบางเวียงจันทร์ลุ่มน้ำป่าสักจนถึงเมืองหนองคายของไทยในปัจจุบันทางใต้ได้บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา  ตอนกลางเรื่อยลงไปจนตลอดแหลมมาลายู ทางตะวันตกมีอำนาจเหนือหัวเมืองมอญ   การขยายอำนาจของสุโขทัยไม่มีผู้ขัดขวางเพราะการขยายอำนาจของมองโกลเข้ามาตีพุกามได้  อาณาจักเขมรก็เสื่อมอำนาจลง ทางด้านต่างประเทศ ทรงเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับราชวงศ์มองโกลที่ปกครองจีน  ทำให้ลักษณะการปกครองมีลักษณะแบบมองโกลเจือปนอยู่  ผู้นำคือพ่อ   ราษฎรเป็นลูก   ทรงประดิฐอักษรไทยใช้เป็นครั้งแรก  การลงโทษทางกฏหมายไม่เข้มเหมือนกับกับ กฎหมายกัมพูชาเนื่องจาก อิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามามีบทบาทด้วย
ศิลปะของสุโขทัยก็จะตรงข้ามกับกัมพูชา  เช่น พระพุทธรูปสุโขทัยมีพุทธลักษณะที่งดงามลีลาอ่อนช้อย ตรงข้ามกับเขมรที่มีความแข็งกระด้างหน้ากลัวเจือปนอยู่
พระพุทธศาสนาที่เข้ามาในสุโขทัยคือศาสนาพุทธนิกายหีนยาน  รับโดยผ่านมอญและเขมร  และกลายเป็นศาสนาประจำชาติของไทยตั้งแต่นั้นมา หลังสมัยพ่อขุนรามคำแหงสุโขทัยอ่อนแอลง  เมืองขึ้นต่างแยกตัวเป็นอิสระ เกิดชุมชนของไทยทางใต้   ตั้งตนเป็นใหญ่ขึ้นโดยการนำของพระเจ้าอู่ทอง หรือสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 โดยมีศูนย์กลางที่กรุงศรีอยุธยาต่อมาผนวกสุโขทัยไว้ได้
ส่วนในความประทับใจในโบราณสถานทางประวัติศาสตร์สุโขทัยอิกอย่างหนึ่งคือ องค์พระพุทธรูปในสมัยสุโขทัยดูแล้วมีความแตกต่างกันกับสมัยอยุธยาอย่างเห็นได้ชัดจากพระพักของพระพุทธรูปที่สุโขทัยอมยิ้มมีความสุขมากกว่าอยุธยาอาจเป็นเพราะว่าสุโขทัยรับอิทธิพลมาจากมอญซึ่งศิลปกรรมที่ออกมาจะดูมีชีวิตชีวามากกว่าศิลปะอยุธยาที่มีความแข้งกระด้างซ้อนอยู่ในพระพักเนื่องจากอยุธยารับอิทธิพลมาจากเขมร  
การศึกษาภาคสนามในครั้งนี้นับว่าเป็นประโยชน์มากอย่างยิ่งสำหรับการศึกษาโปรแกรมสังคมศึกษาเพราะจะทำให้นักศึกษาเข้าใจและเห็นสถานที่จริงได้เปิดหูเปิดตาให้กว้างขึ้นการบรรยายของอาจารย์หลายๆท่านได้ให้ถึงมุมมองที่แตกต่างกันออกไปและสามารถนำไปใช้ในการสอนต่อไปได้อย่างมีความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้นอยากให้มีการศึกษาภาคสนามอย่างนี้ต่อไป
   * แต่ถ้าเป็นไปได้อยากให้มีการจัดทัวร์ไปศึกษาในประเทศเพื่อนบ้านใกล้ของไทยบ้างคงจะดีน่ะครับ