วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

สอบครั้งที่2

1.Classroom Management
การบริหารจัดการในชั้นเรียน(Classroom management)การที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น การบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นเรื่องที่ครูผู้สอนต้องตระหนักถึงเริ่มตั้งแต่ตัวครูต้องมีการบริหารจัดการในชั้นเรียน(Classroom management)การที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น การบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นเรื่องที่ครูผู้สอนต้องตระหนักถึงเริ่มตั้งแต่ตัวครูต้องมีการบริหารจัดการในชั้นเรียน การบริหารจัดการในชั้นเรียน(Classroom management)การที่ครูผู้สอนจะจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น การบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นเรื่องที่ครูผู้สอนต้องตระหนักถึงเริ่มตั้งแต่ตัวครูต้องมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีบุคลิกภาพที่แสดงถึงความเมตตาและเป็นมิตรกับผู้เรียน รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล รู้ภูมิหลัง ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ซึ่งครูผู้สอนควรมีเครื่องมือ และทักษะในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งอาจเป็นแบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ การทำสังคมมิติ และการศึกษารายกรณี เป็นต้น นอกจากนั้นการควบคุมชั้นเรียนเป็นเรื่องที่ครูควรให้ความสนใจ หากพบนักเรียนที่ปัญหาครูจะดำเนินการอย่างไร ครูต้องรู้ว่านักเรียนที่สอนอยู่ในวัยใด วัยของเขาสนใจใฝ่รู้อะไร หากครูออกแบบการจัดการเรียนได้สอดคล้องกับแต่ละเรียน เหมือนที่เราชอบเรียนวิชาอะไรในช่วงเด็กเพราะเราชอบครูใช่หรือไม่ช่วงวัยของผู้เรียน และสอดคล้องกับความถนัดของผู้เรียน จะส่งผลให้ผู้เรียนมีความสนใจและตั้งใจในการ
2. Happiness Classroom
Happiness เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนได้เรียนอย่างมีความสุข เป็นความสุขที่เกิดจาก ประการที่หนึ่ง ผู้เรียนได้เรียนในสิ่งที่ตนสนใจ สาระการเรียนรู้ชวนให้สนใจใฝ่ค้นคว้าศึกษา ท้าทายให้แสดงความสามารถและให้ใช้ศักยภาพของตนอย่างเต็มที่ ประการที่สองปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน มีลักษณะเป็นกัลยาณมิตร มีการช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน มีกิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน ทำให้ผู้เรียนรู้สึกมีความสุขและสนุกกับการเรียน
3. Life-long Education
การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) หมายถึง การรับรู้ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ตั้งแต่เกิดจนตายจากบุคคลหรือสถาบันใดๆ โดยสามารถ จะเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนต่างๆ อย่างมีระบบหรือไม่มีระบบ โดยตั้งใจหรือโดยบังเอิญก็ได้ ทั้งนี้สามารถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนา ตนเอง
การศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education) หมายถึง การจัดกระบวนการทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นการจัด การศึกษาในรูปแบบของการศึกษาในระบบโรงเรียน (Formal Education) การศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non - Formal Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) โดยมุ่งให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self - directed Learning) มุ่งพัฒนาบุคคลให้สามารถพัฒนาตนเอง และปรับตนเองให้ก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของสังคมการเมืองและเศรษฐกิจของโลก
4. formal Education
การศึกษาในระบบ (Formal Education) คือการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
5. non-formal education
การศึกษานอกระบบหรือ Non-formal Education (NFE)ได้เกิดขึ้นครั้งแรกใน ปี ค.ศ. 1967 ในการประชุมของ UNESCO เรื่องThe World Educational Crisis ซึ่งได้นิยามการศึกษานอกระบบ หมายถึง การจัดการกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ แต่นอกกรอบของการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนปกติ โดยมุ่งบริการให้คนกลุ่มต่างๆ ของประชากร ทั้งที่เป็นผู้ใหญ่และเด็กโดยเน้นการเรียนรู้ (Learning) แต่ในปัจจุบันการศึกษานอกระบบคือ กระบวนการจัดการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ทั้งที่เป็นทัศนคติ ทักษะ และความรู้ซึ่งทำได้ยืดหยุ่นกว่าการเรียนในระบบโรงเรียนทั่วไป สมรรถนะที่เกิดจากการศึกษานอกระบบมีตั้งแต่ทักษะในการเรียนรู้ด้วยตนเอง การทำงานเป็นกลุ่ม การแก้ไข ความขัดแย้งการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การเป็นผู้นำ การแก้ปัญหาร่วมกัน การสร้างความเชื่อมั่น ความรับผิดชอบและความมีวินัย การศึกษานอกระบบยุคใหม่จึงเน้นการเรียนรู้และสมรรถนะ
6. E-learning
คำว่า e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทำผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำเข้าสู่ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอผ่านออนไลน์
7. graded = ผู้สำเร็จการศึกษา
8. Policy education
เรื่องการเมือง (Politics) และเรื่องการศึกษา (Education) ความเข้าใจทั้ง 2 เรื่อง ต้องไปพร้อมกันในการสร้างสังคมประชาธิปไตย เรื่อง ประชาธิปไตย จะได้เข้าใจตั้งแต่เด็ก เป็นการสร้างความเข้าใจร่วมกัน (mutual understanding) ทั้งเรื่องการเมืองและการศึกษาทั่วไป เป็นสองคำที่โดยปกติจะเน้นทางการเมือง แต่ต้องไม่ลืมว่าการศึกษา (Education) มีบทบาทเป็นกลางที่สำคัญในการทำหน้าที่ให้เกิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน สิ่งที่เราพบเห็นข่าวทางโทรทัศน์ ได้ยินทางวิทยุ ล้วนไม่ใช่การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง หรือพัฒนาพลเมือง หากแต่เป็นเพียงการรับข้อมูลข่าวสารทางการเมืองเท่านั้น (Political Information)
9. Vision
( Vision ) หมายถึง ศักยภาพของบุคคลในการหยั่งรู้สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นการสร้างภาพอนาคตเพื่อกำหนดเป้าหมายการทำงาน โดยอาศัยข้อมูลข้อเท็จจริงหรือความรู้และพลังแห่งการจินตนาการ
10. Mission
พันธกิจ (Mission) คือ ความประสงค์ หรือความมุ่งหมายพื้นฐานขององค์กร ที่จะดำเนินการในระยะยาว อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นขอบเขตในการดำเนินงานขององค์กรหรือบริษัทก็ได้ พันธกิจที่ดีจะสามารถแยกความแตกต่างและคุณค่าขององค์กรแต่ละแห่งได้อย่างชัดเจน ดังนั้นพันธกิจจะบ่งบอกว่าธุรกิจขององค์กรคืออะไร อะไรคือสิ่งที่องค์กรต้องการจะเป็น และบางครั้งอาจจะแสดงสิ่งที่องค์กรกำลังให้บริการแก่ลูกค้าอยู่ทั้งผลิตภัณฑ์และบริการ
11. Goals = จุดมุ่งหมาย
12. Objective หมายถึง เป้าหมายซึ่งต้องการให้กิจกรรมบรรลุผลหรือหมายถึงเป้าหมายระยะสั้นที่มีลักษณะเจาะจง ซึ่งเป็นผลลัพธ์ที่สามารถวัดได้
13. backward design ก็คือ เป็นกระบวนการของการทบทวนและขัดเกลา (Review and Refine) ในเรื่องของการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ดูเหมือน ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่ในความไม่ยุ่งยากซับซ้อนนั้น คือการยุทธศาสตร์ของการปรับเปลี่ยน กระบวนการออกแบบการจัดเรียนรู้ยุคใหม่ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างเข้มข้นจริงจัง
14. Effectiveness หมายถึง ความสามารถในการดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ จุดสำคัญของประสิทธิผลอยู่ที่ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิตที่ถูกคาดหวังตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้และผลผลิตจริงที่มีขึ้นในการนี้ขอยกตัวอย่างกรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์ ของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพและประสิทธิผล
15. Efficiency หมายถึง การปฏิบัติงานหรือบริการที่ถูกต้อง รวดเร็ว ใช้เทคนิคที่สะดวกสบายกว่าเดิม คุ้มค่า และใช้ทรัพยากรน้อยที่สุดในขณะที่ต้องการผลงานมากที่สุด
16. Economy ความมัธยัสถ์
17. Equity คือผลรวมของคุณสมบัติที่โดดเด่นของแบรนด์ที่ผสานรวมกันจนเกิดเป็นความเชื่อมั่น และความคาดหวังที่กลุ่มเป้าหมายจะมีให้ต่อแบรนด์นั้นๆ ความเชื่อมั่น คือ Trust ที่สามารถนำไปแปรเปลี่ยนเป็นมูลค่า ในขณะที่ความคาดหวัง คือ Expectation หรือ โอกาสในการขยายเครือข่ายการเติบโตแตกไลน์ของแบรนด์ ความคาดหวังเป็นปัจจัยที่จะบอกให้เรารู้ว่า แบรนด์ของเรามี “Permission” ให้ขยายตัวไปทางไหน ทั้งความเชื่อมั่น และความคาดหวัง (ซึ่งเป็นคำง่ายๆ แต่กว่าจะได้มา ยากแสนยาก) เป็นเป้าหมายสูงสุดของการสร้างแบรนด์ แบรนด์ไหนก็ตามที่อยากจะรู้ว่าตัวเองมีแบรนด์จริงๆแล้วหรือไม่ ก็ลองถามตัวเองดูว่า แบรนด์เรามีสิ่งที่เรียกว่า Equity แล้วหรือยัง หรือมีแค่ Awareness เท่านั้น ถ้ามีแค่ Awareness คือ มีคนรู้จัก แต่ยังไม่ได้มาซึ่งความเชื่อถือไว้วางใจ ยังไม่ก่อให้เกิดความคาดหวัง (เพราะคนที่รู้จักยังไม่เคยใช้เลย) ก็แปลว่าคุณยังสร้างแบรนด์ได้ไม่ถึงเป้าหมายสุดท้าย การสร้างแบรนด์วันนี้จะต้องสร้างให้ได้ถึงคำว่า “Equity” หรือพูดง่ายๆว่าต้องมีปัจจัยที่ทำให้แบรนด์เรามีทั้งคุณค่าและมูลค่า18หรือ Empowerment” หมายถึง การทำให้บุคคลที่ปฏิบัติงานเกิดแรงจูงใจภายใน (Intrinsic motivation) รวมทั้ง ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเองว่ามีความสามารถเพียงพอ (Self-efficacy) ที่จะทำงานนั้นสำเร็จ ให้เกิดขึ้นในตัวของผู้ปฏิบัติงาน19 Engagement นั้น ถ้าจะแปลความแบบง่ายๆ ก็คือ การทำให้พนักงานในองค์กรรู้สึกผูกพันกับองค์กร คำว่าผูกพัน (Engage) นั้น กินความหมายลึกซึ้งมากนะครับ มันไม่ใช่แค่เพียงอยากอยู่กับองค์กรเท่านั้น มันยังหมายความรวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มทางด้านผลงานให้เกิดขึ้นกับองค์กรด้วย20โครงการ (อังกฤษ: project) หมายถึง กระบวนการทำงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมหลายๆกิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ เช่นการผลิตสินค้า หรือ ทำงานบริการ โดยจะมีการกำหนดระยะเวลาและงบประมาณที่จำกัด ในการดำเนินงานโครงการจะต้องมีผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อโครงการ มีหน้าที่ทำการบริหารงาน กิจกรรมต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนงานเหมาะสมกับเวลา และงบประมาณที่ตั้งไว้
17. Equity ความถูกต้อง
18. Empowerment การ ,ความให้อำนาจ
19. Engagement การสู้รบ
20. project แผนงาน
21. activies
22. Leadership A simple definition of leadership is that leadership is the art of motivating a group of people to act towards achieving a common goal. คำนิยามอย่างง่ายของการเป็นผู้นำเป็นผู้นำที่เป็นคนศิลปะของการสร้างแรงจูงใจกลุ่มเพื่อดำเนินการที่จะให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน Put even more simply, the leader is the inspiration and director of the action. ใส่มากยิ่งขึ้นเพียงผู้นำเป็นแรงบันดาลใจและผู้อำนวยการการกระทำ He or she is the person in the group that possesses the combination of personality and skills that makes others want to follow his or her direction. เขาหรือเธอเป็นบุคคลในกลุ่มที่มีคุณสมบัติการรวมกันของบุคลิกภาพและทักษะที่ทำให้คนอื่นต้องการที่จะปฏิบัติตามทิศทางของเขาหรือเธอ In business, leadership is welded to performance. ในธุรกิจการเป็นผู้นำเป็นรอยกับการปฏิบัติ Effective leaders are those who increase their companys' bottom lines. ผู้นำที่มีประสิทธิภาพคือผู้ที่เพิ่มบรรทัดด้านล่างของ บริษัท ของพวกเขา To further confuse the issue, we tend to use the terms "leadership" and "management" interchangeably, referring to a company's management structure as its leadership, or to individuals who are actually managers as the "leaders" of various management teams. เพื่อเป็นการสร้างความสับสนปัญหาเรามักจะใช้คำว่า"ผู้นำ"และ"จัดการ"แทนกัน ได้ในการอ้างอิงถึงโครงสร้างการจัดการของ บริษัท ฯ เป็นผู้นำหรือให้บุคคลที่เป็นจริงผู้จัดการเป็น"ผู้นำ"ของทีมงานการจัดการ ต่างๆ I am not saying that this is a bad thing, just pointing out that leadership involves more. ฉันไม่ได้บอกว่านี่เป็นสิ่งที่ไม่ดีเพียงชี้ให้เห็นถึงความเป็นผู้นำที่เกี่ยวข้องกับการเพิ่มเติม To be effective, a leader certainly has to manage the resources at her disposal. ให้มีประสิทธิภาพซึ่งเป็นผู้นำแน่นอนมีการบริหารจัดการทรัพยากรในการกำจัดของเธอ But leadership also involves communicating, inspiring and supervising - just to name three more of the main skills a leader has to have to be successful. แต่ความเป็นผู้นำยังเกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสาร, สร้างแรงบันดาลใจและดูแล -- เพียงชื่ออีกสามทักษะหลักผู้นำต้องมีเพื่อจะประสบความสำเร็จ Is a leader born or made? ผู้นำหรือทำให้เกิดหรือไม่ While there are people who seem to be naturally endowed with more leadership abilities than others, I believe that people can learn to become leaders by concentrating on improving particular leadership skills. ขณะที่มีผู้คนที่ดูเหมือนจะเป็น endowed ธรรมชาติกับความสามารถในการเป็นผู้นำมากขึ้นกว่าคนอื่น ๆ ผมเชื่อว่าคนสามารถเรียนรู้ที่จะเป็นผู้นำโดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะการเป็น ผู้นำโดยเฉพาะ
23. leaders ผู้นำ
24. Follows การติดตาม
25. Situations สถานการณ์
26. Self awareness With our busy schedules it might be difficult to find time to think about who we are, our strengths and weaknesses, our drives and personalities, our habits and values. มีตารางเวลาไม่ว่างของเรามันอาจจะยากที่จะหาเวลาที่จะคิดเกี่ยวกับการที่เรา เป็นจุดแข็งและจุดอ่อนของเราไดรฟ์และบุคลิกภาพของเรานิสัยและค่านิยมของเรา Besides, many of us just aren't inclined to spend much time on self-reflection. นอกจากนี้พวกเราหลายคนก็ยังไม่ได้กินใช้เวลามากในการสะท้อนตัวเอง Even when personal feedback is presented to us, we're not always open to it, because honest feedback isn't always flattering . แต่แม้จะเป็นความคิดเห็นส่วนบุคคลนำเสนอให้กับเราเราไม่เคยเปิดให้มันเพราะความคิดเห็นอย่างจริงใจไม่ยกยอเสมอ Consequently, many of us have a pretty low level of self-awareness. ดังนั้นพวกเราหลายคนมีระดับต่ำงามของการทราบตนเอง That's unfortunate, because self-awareness is an essential first step toward maximizing management skills . นั่นคือโชคร้ายเพราะความตระหนักรู้ด้วยตนเองเป็นขั้นตอนแรกที่จำเป็นต่อการเพิ่มทักษะการจัดการ Self-awareness can improve our judgment and help us identify opportunities for professional development and personal growth. ตนเองความตระหนัก - สามารถปรับปรุงการตัดสินของเราและช่วยให้เราระบุโอกาสในการพัฒนาวิชาชีพและการเจริญเติบโตส่วนบุคคล
27. Communication สื่อสาร (ดอทคอมย่อมัก) คือการทำงาน, การสื่อสารการกระทำของ, การสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นในการถ่ายทอดสำหรับคนบางคนหมายถึงการใช้และ เทคนิค สำหรับการเผยแพร่ข้อความไปยัง ผู้ชมมากหรือน้อยในวงกว้างและไม่เหมือนกันและการดำเนินการกับใครสักคนข้อมูล ทางธุรกิจและส่งเสริมกิจกรรมต่อสาธารณะ, รักษาภาพพจน์ของมันโดยกระบวนการทางสื่อ
28. Assertiveness พฤติกรรมการแสดงออกที่ เป็นคำคุณศัพท์ในภาษาอังกฤษ The word describes the state of a person who is inclined or tends to assert himself boldly or confidently. คำอธิบายเกี่ยวกับสถานะของบุคคลที่มีแนวโน้มหรือมีแนวโน้มที่จะกล่าวอ้างตัวเองอย่างกล้าหาญหรืออย่างมั่นใจ An assertive person is self-assured and confident. คนเสือกคือแน่นอนในตนเองและมีความมั่นใจ He may aggressively place his point of view before someone. เขาอย่างจริงจังอาจสถานที่ของเขา มุมมอง ก่อนที่ใครสักคน Other synonyms associated with the word 'Assertive' are: aggressive, emphatic, forceful, self-confident, self-assured, firm, forward, pushy, insistent, persistent, unrelenting, resolute and persevering. คำพ้องความหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคำว่า'กล้าแสดงออก'คือ : ก้าวร้าว, สำคัญ, มีพลัง, มั่นใจตัวเองด้วยตนเองมั่นใจ, บริษัท , ส่งต่อ, รุก, ยืนหยัด, ถาวร, ยึดมั่น, แน่วแน่และขยันหมั่นเพียร Assertively is the adverb form of the word assertive and assertiveness is its noun form. Assertively เป็น คำกริยาวิเศษณ์รูปแบบของการยืนกรานคำแสดงออกอย่างเหมาะสมและเป็นรูปแบบของคำนาม One example of the word Assertive is: Dan was assertive in his attempts to make the Board of Directors understand his advertising plan. ตัวอย่างหนึ่งของคำว่าเสือกคือ : ด่านคือการแสดงออกที่เหมาะสมในความพยายามของเขาเพื่อให้คณะกรรมการเข้าใจแผนโฆษณาของเขา The sentence gives us an idea that this person Dan was confident of his plan. ประโยคที่ทำให้เรามีความคิดที่ว่านี้คนด่านมั่นใจในแผนของเขา He was self-assured and made relentless efforts to make the Board of Directors understand his plan and its utility. เขาแน่นอนในตนเองและความพยายามทำไม่ยอมอ่อนข้อเพื่อให้คณะกรรมการเข้าใจวางแผนและยูทิลิตี้ของเขา
29. Time management การบริหารเวลาเป็นของตนเองมีระเบียบวินัยด้วยตัวเองค้นพบโดยเครื่องมือที่ เป็นมาตรฐานของการวัดที่เราจะมีปริมาณทั้งหมดเพื่อจัดลำดับความสำคัญของเรา ในวันหนึ่งวันใด It is simply how we manage our time, manage our disciplines and ultimately, manage our selves in our mindsets in a balanced mental, physical and Spiritual manner of delegation of that time. มันเป็นเพียงวิธีการที่เราจัดการกับเวลาของเราจัดการสาขาของเราและในที่สุด จัดการตัวของเราในความตั้งใจของเราในลักษณะจิตใจร่างกายและจิตวิญญาณที่ สมดุลของคณะผู้แทนของเวลาที่ How we utilize that time will determine our fate of happiness, success and personal growth. วิธีที่เราใช้ว่าเวลาจะเป็นตัวกำหนดชะตากรรมของเรามีความสุขความสำเร็จและเจริญเติบโตส่วนบุคคล Period. ระยะเวลา
30. POSDCoRB หลัก POSDCORB ของ Luther H. Gulick และ Lyndall Urwick .
ดูเหมือนว่านักวิชาการด้านรัฐประสาสนศาสตร์มีความเห็นร่วมกันว่า ทฤษฎีแนวความคิดหลักการบริหารได้เจริญถึงจุดสุดยอดในปี ค.ศ. 1937 อันเป็นปีที่ Gulick และ Urwick ได้ร่วมกันเป็นบรรณาธิการหนังสือชื่อ Papers on the ScienceAdministration เอกสารดังกล่าวถือได้ว่าเป็นเอกสารประวัติสาสตร์เพราะรวบรวมเอาความคิดของ นักรัฐประศาสนศาสตร์ซึ่งสนับสนุนและเชื่อในหลักการบริหารความคิดและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักการบริหารของ Gulick ประมวลสรุปได้ดังต่อไปนี้
1. องค์การเกิดขึ้นมา เพราะมนุษย์ที่มาอยู่ร่วมกันได้ช่วยกันแบ่งงานกันทำตามความชำนาญพิเศษของแต่ ละคนซึ่งเป็นการประหยัดเวลาและแรงงานในการทำงานอย่างยิ่ง เมื่อสังคมขยายตัวขึ้นลักษระการแบ่งงานกันทำจะสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้นจนใน ที่สุดจำเป็นต้องสร้างกลไกหรือโครงสร้างบางประการเพื่อผูกโยงประสานหน่วยงาน แต่ละหน่วย (work unit) เข้าด้วยกันดังนั้นหัวใจทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การจึงเป็นเรื่องของความพยายาม จัดโครงสร้าง การประสานงานระหว่างหน่วยทำงาน ย่อยมากมายเหล่านี้
2. หลักในการประสานงานหน่วยทำงานย่อยมีอยู่สองวิธีที่ต้องใช้ควบคู่กันไป คือ วิธีแรกเรียนว่า การประสานงานโดยการสร้างกลไกในความควบคุมภายในองค์การ หมายถึงการจัดตั้งโครงสร้างอำนาจ (structure of authority) ซึ่งประกอบด้วยสายการบังคับบัญชาระหว่างหัวหน้าและลูกน้องเป็นลำดับชั้น เชื่อมโยงจากยอดถึงฐานของโครงสร้างอำนาจ โดยให้คนในแต่ละขั้นของโครงสร้างดังกล่าวแบ่งงานกันทำเป็นหน่วยงาน วิธีที่สอง เรียกว่า การประสานงานโดยการผูกมัดทางใจ ทำให้คนที่มาร่วมกันทำงานมีพลังจิตตั้งใจประกอบการงานเต็มความสามารถและทำ ด้วยความกระตือรือร้น บรรยากาศในการทำงานดังกล่าวจะสร้างขึ้นมาได้ต้องอาศัยความสามารถของผู้นำ (leadership) ในส่วนต่อไปนี้ผู้เขียนจะแสดงวิธีการประสานงานหน่วยงานย่อยทั้งสองวิธีโดย ละเอียด
31. Formal Leaders ผู้นำซึ่งเป็นชุดที่เป็นทางการ
32. Informal Leaders ผู้นำซึ่งเป็นกันเอง
33. Environment คืออะไร สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความรู้ (Knowlege) ทักษะ (Skills) และคุณลักษณะ (Attributes) ที่จำเป็นในการ
ปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง (Job Roles) ให้ประสบความสำเร็จและมีความโดดเด่นกว่าคนอื่น ๆ ในเชิงพฤติกรรม เช่น มากกว่าเพื่อนร่วม
งาน ในสถานการณ์ที่หลากหลายกว่า และได้ผลงานดีกว่าคนอื่น เป็นต้น
34. Globalization ในปัจจุบันสังคมทั่วโลกมีการติดต่อสื่อสารกันได้อย่างทั่วถึงไม่ว่าจะเป็นการติดต่อระหว่างคนในภูมิภาคต่างๆในการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจหรือวัฒนธรรม จนสามารถเรียกได้ว่าโลกไร้พรมแดนที่ข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ไม่สามารถเป็นอุปสรรคของการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนระหว่างกันอีกต่อไป นักวิชาการได้บัญญัติศัพท์ โลกาภิวัตน์ (Globalization) ขึ้นใช้เมื่อประมาณ 60 กว่าปีมานี้ ซึ่งมีความหมายว่า กระบวนการทางสังคมที่เคยอยู่ภายใต้ข้อจำกัดทางภูมิศาสตร์ได้ลดลง และประชาชนเองก็ตระหนักถึงภาวะดังกล่าวนี้ด้วย (Malcolm)
35. Individual Behavior พฤติกรรม (Behavior) คือ การกระทำของบุคคล พฤติกรรมองค์การ (Organizational Behavior) เป็นการศึกษาการกระทำของบุคคลในการทำงาน มี 2 ด้าน คือ
1. พฤติกรรมบุคคล (Individual Behavior)
2. พฤติกรรมกลุ่ม (Group Behavior
36. Group Behavior พฤติกรรมในองค์กร องค์กรจะสร้างรูปแบบของการดำเนินงาน ตลอดจนการปฎิบัติงานต่าง ๆ ขึ้น เพื่อสนองตอบการเปลี่ยนของสิ่งแวดล้อม และสภาวะที่เกิดจากการดำเนินงานของบุคคลและของกลุ่ม หรืออาจจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า รูปแบบเฉพาะในการดำเนินงานที่องค์กรสร้างขึ้นนั้น เป็นผลมาจากการปรับองค์ประกอบต่าง ๆ ให้สอดคล้องกันและกันได้
37. Organization Behavior พฤติกรรมองค์กร
38. Team working กลุ่มคนทำงานหรือเล่นกีฬาในกลุ่มเดียวกัน[กำลัง,การ]เป็นผลสำเร็จ
39. Six Thinking Hats หนึ่งครั้งหนึ่งเรื่องความ สับสนเป็นศัตรูที่สำคัญที่สุดของการคิดที่ดี เราพยายามทำหลายสิ่งหลายอย่างมากเกินไปในเวลาเดียวกัน เรามองหาข้อมูล เราได้รับผลกระทบจากความรู้สึกของเรา เราแสวงหาความคิดใหม่ๆและทางเลือกใหม่ แล้วเรายังต้องระมัดระวัง เราอาจเห็นประโยชน์ที่อาจมีอยู่ นั่นคือหลายสิ่งหลายอย่างที่เราต้องทำระหว่างการคิด การโยนรับสับเปลี่ยนหกลูกในเวลาเดียวกันเป็นเรื่องยาก ลูกเดียวต่อครั้งง่ายกว่ามากด้วยวิธีการคิดแบบหมวกนี้ เราพยายามทำเพียงสิ่งเดียวเท่านั้นในแต่ละครั้ง ครั้งหนึ่งเราอาจจะมองหาอันตรายที่อาจมีอยู่(หมวกดำ)อีกครั้งหนึ่งเราแสวงหา ความคิดใหม่ๆ(หมวกเขียว) และอีกบางครั้งที่เราสนใจข้อมูล(หมวกขาว)เราจะไม่พยายามทำทุกย่างในเวลา เดียวกัน เวลาเราทำงานพิมพ์สี สีแต่ละสีจะพิมพ์แยกกันทีละครั้ง ทีละสีและสุดท้ายเราก็ได้รับงานผลรวมเป็นงานพิมพ์สีที่สมบูรณ์ เช่นเดียวกับความคิดแบบหมวกทั้งหก เราทำแต่ละเรื่องในแต่ละครั้ง และสุดท้ายภาพที่เต็มสมบูรณ์ก็จะปรากฏภายใต้เรื่องราวทั้งหมดนี้คือความจำ เป็นทางจิตวิทยาที่ต้องแยกความคิดแต่ละแบบออกจากกัน
40. Classroom Action Research การวิจัยอากัปกิริยาห้องเรียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น